สถิติ
เปิดเมื่อ21/09/2014
อัพเดท11/07/2015
ผู้เข้าชม1714668
แสดงหน้า2189526
บทความ
ประวัติ นายประพันธ์ เวารัมย์ (เจ้าของเว็บไซต์)
ประวัตินายประพันธ์ เวารัมย์ เจ้าของเว็บไซต์ แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้า
รู้จัก ด.ช.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผ่านนิตยสารชัยพฤกษ์ ปี 2512
รู้จัก ด.ช.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผ่านนิตยสารชัยพฤกษ์ ปี 2512
เปิดประวัติ พล.อประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 29
เปิดประวัติ พล.อประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 29
ข้อมูลเตรียมสอบปลัดอำเภอ
้ข้อมูลเตรียมสอบปลัด 2
แนวข้อสอบปลัดอำเภอ
คู่มือการดูแลรักษาและคุ้มครองที่สาธารณประโยชน์
เจ้าของเว็บไซต์
โครงสร้างเตรียมสอบปลัดอำเภอ ข้อสอบที่เคยออกปี 2548 และปี 51-55 (สำหรับผู้ใฝ่ฝัน เป็นปลัดอำเภอ)
เตรียมสอบปลัดอำเภอ
ตู้หนังสือ แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้า
คู่มือปฏิบัติงานกองอาสารักษาดินแดน
วันสถาปนากองอาสารักษาดินแดน
​หนังสือคู่มือการทะเบียนราษฎร
เตรียมสอบปลัดอำเภอ
หนังสือสั่งการต่างๆ เกี่ยวกับท้องถิ่น
ท้องถิ่นกำลังจะแก้ไขหลักเกณฑ์การสอบใหม่
เรื่องทั่้วไป
เว็บไซต์กระทรวงต่างๆ 20 กระทรวง
แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้า
ยังจำท่านได้ดี ท่านสิริรัฐ (สถาพร) ชุมอุปการ (นายอำเภอประโคนชัย ปี 2547)
สวัสดีวันพุธ ที่ 24 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557 ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11
เอกสารเตรียมสอบปลัดอำเภอ เนื้อหาเกี่ยวกับนโยบายรัฐบาล
เอกสารเตรียมสอบปลัดอำเภอ (ชุดที่ 2)
เอกสารเตรียมสอบปลัดอำเภอ (ชุดที่ 1)
หนังสือปฏิบัติงานกรมการปกครอง
คู่มือการปฏิบัติหน้าที่ของกรมการปกครอง ของปลัดอำเภอ
รวมกฎหมายปกครองที่เล่ม 5
รวมกฎหมายปกครองที่เล่ม 4
รวมกฎหมายปกครองเล่ม 3
รวมกฎหมายปกครอง เล่ม 1
รวมกฎหมายปกครอง เล่ม 2
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   




แนวข้อสอบพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

แนวข้อสอบพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
อ้างอิง อ่าน 515 ครั้ง / ตอบ 0 ครั้ง

waoram

แนวข้อสอบพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มีกี่หมวด กี่มาตรา
ก. 9 หมวด 53 มาตรา ข. 8 หมวด 52 มาตรา
ค. 9 หมวด 54 มาตรา ง. 8 หมวด 54 มาตรา
ตอบ ก. 9 หมวด 53 มาตรา
2. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ให้ไว้ ณ วันที่เท่าใด 
ก. 9 มกราคม 2546 ข. 9 ตุลาคม 2546
ค. 9 กุมภาพันธ์ 2546 ง. 9 พฤศจิกายน 2546
ตอบ ข. 9 ตุลาคม 2546
3. พระราชกฤษฎีกานี้ เรียกว่า
ก. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 
ข. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2545
ค. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 
ง. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2547
ตอบ ค. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 
4. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 นี้ใช้บังคับตั้งแต่
ก. วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. ก่อนวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ ค. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
5. การปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้ จะปฏิบัติเมื่อใดและต้องมีเงื่อนไขอย่างใดให้เป็นไปตามที่ผู้ใดกำหนด
ก. เลขาธิการรัฐมนตรีกำหนด ข. เลขาธิการคณะรัฐมนตรีกำหนด
ค. นายกรัฐมนตรีกำหนด ง. คณะรัฐมนตรีกำหนด
ตอบ ง. คณะรัฐมนตรีกำหนด (มาตรา 3)


6. การปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้ จะปฏิบัติเมื่อใด และต้องมีเงื่อนไขอย่างใดให้เป็นไปตามที่ผู้ใดเสนอ
ก. ก.พ.ร. ข. ครม.
ค. กกต. ง. สตง.
ตอบ ก. ก.พ.ร. (มาตรา 3)
7. ตามพระราชกฤษฎีกานี้ คำว่า “ส่วนราชการ” หมายถึง
ก. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม
ข. หน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของส่วนราชการฝ่ายบริหาร
ค. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ ค. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข. (มาตรา 4)
8. ตามพระราชกฤษฎีกานี้ คำว่า “ส่วนราชการ” ไม่รวมถึง
ก. องค์การบริหารส่วนจังหวัด ข. การปกครองส่วนภูมิภาค
ค. การปกครองส่วนกลาง ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตอบ ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (มาตรา 4)
9. ตามพระราชกฤษฎีนี้ คำว่า “รัฐวิสาหกิจ” หมายความว่าอย่างไร
ก. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ
ข. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกา
ค. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยกฎกระทรวง
ง. ถูกหมดทั้ง ก. และ ข.
ตอบ ง. ถูกหมดทั้ง ก. และ ข.
10. ตามพระราชกฤษฎีกานี้ คำว่า “ราชการ” ตามพระราชกฤษฎีกานี้หมายความรวมถึงใครบ้าง
ก. พนักงาน ข. ลูกจ้าง
ค. ผู้ปฏิบัติงานในส่วนราชการ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ (มาตรา 4)
11. ใครเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ก. นายกรัฐมนตรี ข. รองนายกรัฐมนตรี
ค. คณะรัฐมนตรี ง. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี (มาตรา 5)
อัลบัมที่1
พระราชกฤษฎีกา
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
--------------------------

1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ดี พ.ศ. 2546 ได้ตราขึ้นตาม กฎหมาย ข้อใด
ก. กฎหมายรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางการปกครอง พ.ศ.2539
ข. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางการปกครอง พ.ศ. 2539
ค. กฎหมายรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ง. ถูกทุกข้อ
2. ในทางปฏิบัติราชการส่วนใดจะปฏิบัติเมื่อใดต้องมีเงื่อนไขอย่างไร ใครเป็นผู้กำหนดให้ปฏิบัติตามพระราช กฤษฎีกานี้
ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ค. นายกรัฐมนตรี ง. คณะรัฐมนตรี
3. ใครมีหน้าที่ให้ข้อเสนอแนะ (แก่คณะรัฐมนตรี) ก่อนจะปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้ในการที่จะให้ส่วน ราชการปฏิบัติเมื่อใดและจะต้องมีเงื่อนไขอย่างใดบ้าง
ก. คณะรัฐมนตรี ข. ก.พ. 
ค. ก.พ.ร. ง. ก.พ.อ.
4. คำว่า "ส่วนราชการ" ตามความหมายพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ดี พ.ศ.2546 นั้นให้ความหมายถึงส่วนราชการตามกฎหมายข้อใด
ก. ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ 
ข. ตามกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ค. ตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวงกรม
ง. ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
5. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีนั้นจะต้องบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายทั้งหมดกี่ประการ
ก. 7 ประการ ข. 6 ประการ
ค. 5 ประการ ง. 4 ประการ
6. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีนั้นเป้าหมายสูงสุดคือข้อใด
ก. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ข. เกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชน
ค. ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ
ง. เกิดผลคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
7. ความบริหารของการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดผลตามข้อใด
ก. ความผาสุขของประชาชน
ข. ความอยู่ดีของประชาชน
ค. ความสงบสุขเรียบร้อยของประชาชน
ง. ถูกต้องทั้งหมด
8. ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนส่วนราชการจะต้องดำเนินการโดยเอาอะไรเป็น ศูนย์กลางในการบริหารกิจการ
ก. หน่วยราชการ ข. ประเทศ
ค. สังคมและชุมชน ง. ประชาชน
9. ในการกำหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการจะต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ความสุขของประชาชนและจะ สอดคล้องตามข้อใด
ก. สอดคล้องกับกฎหมายรัฐธรรมนูญและ ก.พ.ร.กำหนด
ข. สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรี
ค. สอดคล้องกับนโยบายของคณะรัฐมนตรีและแนสนโยบายกระทรวง
ง. สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศ
10. ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนนั้นส่วนราชการจะต้องต้องมีแนวทางในการบริหาร ราชการกี่ประการ
ก. 5 ประการ ข. 6 ประการ
ค. 7 ประการ ง. 8 ประการ
11. ส่วนราชการใดที่จะต้องดำเนินการให้เกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชนนั้นจะต้องมีการกำหนดแนวทางการ บริหารราชการตามข้อใดเป็นอันดับแรก
ก. กำหนดภารกิจการบริหารกิจการราชการให้สอดคล้องกับแนวนโยบายของรัฐ
ข. จะต้องมีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีผลเสียให้ครบทุกด้านที่กระทบต่อประชาชน
ค. ศึกษาปัญหาและอุปสรรคก่อนการดำเนินการแล้วปรับปรุงโดยเร็ว
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
12. ในทางปฏิบัติหากมีกรณีที่เกิดปัญหาและอุปสรรคจากการดำเนินการให้ส่วนราชการปฏิบัติตามข้อใด
ก. แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นโดยเร็ว
ข. แจ้งเรียนส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้องได้ทราบปัญหา
ค. แจ้ง ก.พ.ร. ให้รับทราบ
ง. แจ้งผู้บังคับบัญชาให้แก้ไขระเบียบข้อบังคับมันโดยเร็ว
13. ในการบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐส่วนราชการจะต้องปฏิบัติภารกิจนั้นจะต้อง ดำเนินการตามข้อใดเป็นอันดับแรก
ก. จัดทำแบบปฏิบัติราชการโดยมีรายละเอียดของขั้นตอนระยะเวลาและงบประมาณตลอดจนเป้าหมายของ ภารกิจนั้น
ข. รับความฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการมาศึกษาวิเคราะห์แล้วกำหนดภารกิจ
ค. จัดให้มีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามภารกิจหลักเกณฑ์และวิธีที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น
ง. กำหนดภารกิจการบริหารราชการให้สอดคล้องกับ แนวนโยบายของรัฐ
14. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการให้สอดคล้องกับแผนการปฏิบัติราชการแผ่นดิน โดยจัดทำ เป็นแผนตามข้อใด
ก. 2 ปี ข. 3 ปี ค. 4 ปี ง. 5 ปี
15. หน่วยงานใดขาดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่
ก. สำนักงบประมาณ
ข. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ค. ก และ ข ถูก
ง. ถูกเฉพาะข้อ ข เท่านั้น
16. ในการลดขั้นตอยการปฏิบัติงานนั้นส่วนราชการจะทำตามข้อใด
ก. กระจายอำนาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการสั่งการอนุญาติการอนุมัติให้แก่ผู้ดำเนินการเรื่องนั้นได้โดดยตรง
ข. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ไม่จำเป็นและเพิ่มภารกิจที่บริการให้มากที่สุด
ค. ให้ประชาชนผู้ร่วมบริการรวมกันจัดตั้งศูนย์บริการร่วมและศูนย์บริการเพียงแห่งเดียว
ง. ถูกทุกข้อ
17. ในการปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้องกับการอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ส่วนราชการจะจัดให้มีตามข้อใด
ก. กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานแต่ละงานและประกาศให้ประชาชนได้ทราบทั่วกัน
ข. ให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการหรือข้อมูลหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ ราชการของส่วนราชการนั้น
ค. ให้มีอำนาจออกกฎระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศเพื่อบังคับใช้
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา 
18. ผู้ที่ทำหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการคือข้อใด
ก. คณะ ก.ร.ม. ข. ก.พ.ร.
ค. ก.พ. ง. คณะผู้ประเมินอิสระ
19. ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการอาจจัดให้มีการประเมินข้อใดบ้าง
ก. ผู้บังคับบัญชา ข. หน่วยงานในส่วนราชการ
ค. ข้าราชการ ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
20. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องจัดทำหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามแนวทางของภารกิจนี้ อย่างน้อยจะต้องมีหลักเกณฑ์เกี่ยวข้องกับข้อใดบ้าง
ก. การลดขั้นตอน การปฏิบัติงานและการอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน
ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ค. เกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชนและไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติเกินความจำเป็น
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
21. ผู้ที่ทำหน้าที่ดูแลและให้ความช่วยเหลือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทำหลักเกณฑ์การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดีตามแนวทางของพระราชกฤษฎีกานี้ คือ
ก. สำนักปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ข. สำนักนายกรัฐมนตรี
ค. กระทรวงมหาดไทย
ง. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น


เฉลยอัลบัมที่1 
1. ค 2. ง 3. ค 4. ค 5. ก
6. ข 7. ง 8. ง 9. ข 10. ก
11. ก 12. ก 13. ก 14. ค 15. ค 
16. ก 17. ง 18. ง 19. ง 20. ก
21. ค

กระทู้โดย อ.หวง เมื่อ 5-11-2009 09:06 ดัน
แนวข้อสอบพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
..........................................
1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
ก. 7 ตุลาคม 2546
ข. 8 ตุลาคม 2546
ค. 9 ตุลาคม 2546
ง. 10 ตุลาคม 2546
จ. 11 ตุลามคม 2546
2. ข้อใดมิใช่ส่วนราชการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
ก. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข. กระทรวง
ค. จังหวัด
ง. หน่วยงานอื่นที่รัฐอยู่ในกำกับของฝ่ายบริหาร
จ. ข้อ ก. และข้อ ค.
3. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารราชการ เพื่อบรรลุเป้าหมายต่อไปนี้ ข้อใดมิใช่
ก. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ข. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
ค. มีการปรับปรุงภารกิจส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์
ง. มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ
จ. ทุกข้อคือเป้าหมายของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
4. ข้อใดต่อไปนี้มิใช่วัตถุประสงค์ของการบริหารราชการเพื่อประโยชน์ของประชาชน
ก. การปฏิบัติราชการที่มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดความผาสุก
ข. การปฏิบัติราชการเพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน
ค. การปฏิบัติราชการเพื่อความสงบ และปลอดภัยของประชาชนส่วนรวม
ง. การปฏิบัติราชการเพื่อประโยชน์สุขของประเทศ
5. ข้อใดมิใช่แนวทางการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
ก. ต้อเป็นไปโดยซื่อสัตย์ สุจริต สามารถตรวจสอบได้
ข. ก่อนเริ่มดำเนินการส่วนราชการจะต้องให้มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดี ผลเสียให้ครบทุกด้าน
ค. ข้าราชการจะต้องคอยรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยรวมและประชาชนผู้ให้บริการ
ง. ในกรณีที่เกิดปัญหา และอุปสรรคจากการดำเนินการให้ส่วนราชการแก้ไขปัญหาอุปสรรคนั้นโดยเร็ว
จ. เป็นแนวทางหมดทุกข้อ
6. ข้อใดมิใช่แนวทางบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ก. การจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า
ข. การปฏิบัติราชการแบบบูรณาการร่วมกัน
ค. การให้ส่วนราชการมีหน้าที่สนับสนุนการปฏิบัติราชการของผู้ว่าราชการจังหวัด
ง. การบริหารราชการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง
จ. การพัฒนาส่วนราชการให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
7. หน่วยงานใดต่อไปนี้มีหน้าที่ร่วมกันจัดทำแผนบริหารราชการแผ่นดินเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
ก. สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ข. สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ค. สำนักงาน ก.พ.ร.
ง. สำนักงานงบประมาณ
จ. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
8. เมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดินต้อง เสนอแผนให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาภายในกี่วัน
ก. 30 วัน 
ข. 45 วัน
ค. 60 วัน
ง. 90 วัน
จ. 120. วัน
9. การบริหารราชการแผ่นดินไม่ผูกพันธ์กับองค์กรใดต่อไปนี้
ก. กรุงเทพมหานคร
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรี
ง. กระทรวง
จ. ผูกพันทุกข้อที่กล่าวมา
10. ข้อใดมิใช่สาระสำคัญของแผนการปฏิบัติราชการ
ก. มีการกำหนดเป้าหมาย
ข. มีการกำหนดผลสัมฤทธิ์ของงาน ส่วนราชการและบุคคลที่รับผิดชอบภารกิจ
ค. กำหนดแนวทางการปฏิบัติงาน
ง. มีการประมาณรายได้และรายจ่าย และทรัพยากรต่าง ๆ ที่จะต้องใช้
จ. กำหนดระยะเวลาดำเนินงานและการประเมินผล
11. หน่วยงานใดต่อไปนี้มีหน้าที่จัดทำแผนนิติบัญญัติ
ก. สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ข. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ค. สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ง. ข้อ ก. และข้อ ข.
จ. ข้อ ข. และข้อ ค.
12. การจัดทำแผนปฏิบัติราชการจะต้องนำแนวนโยบายของรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภามาพิจารณาดำเนินการให้ สอดคล้องกับ .....?
ก. แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
ข. แผนพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ค. แนวพระราชบัญญัติองค์พระมหากษัตริย์
ง. ก และ ข
จ. ก ข และ ค
13. สำนักงบประมาณจะจัดสรรงบประมาณให้แก่ส่วนราชการก็ต่อเมื่อแผนการปฏิบัติราชการประจำปีของส่วน ราชการได้รับความเห็นชอบจาก.....?
ก. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. รัฐสภา
ง. รัฐมนตรีเจ้าสังกัด
จ. ก.พ.ร.
14. เมื่อสิ้นปีงบประมาณส่วนราชการจะต้องทำรายงานใดเสนอแก่คณะรัฐมนตรี
ก. รายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติราชการประจำปี
ข. รายงานการใช้จ่ายงบประมาณ
ค. รายงานประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี
ง. รายงานตัวชี้วัดแห่งความสำเร็จ
จ. รายงานปัญหาและอุปสรรคตลอดถึงแนวการแก้ไขตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี

15. การโอนงบประมาณจากภารกิจหนึ่งตามที่กำหนดในแผนปฏิบัติราชการไปดำเนินการอย่างอื่น ซึ่งมีผลทำให้ ภารกิจเดิมไม่บรรลุเป้าหมายหรือนำไปใช้ในภารกิจใหม่ที่มิได้กำหนดในแผนปฏิบัติราชการจะกระทำได้ หรือไม่
ก. ไม่สามารถกระทำได้
ข. สามารถกระทำได้โดยอนุมัติรัฐมนตรีเจ้าสังกัด
ค. สามารถกระทำได้โดยการอนุมัติ ก.พ.ร.
ง. สามารถกระทำได้โดยอนุมัติ ก.พ.ร
จ. สามารถกระทำได้โดยอนุมัติรองปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจ หรือปลัดกระทรวงแล้วแต่กรณี
16. การปรับแผนปฏิบัติราชการมีผลให้โอนงบประมาณจากภารกิจหนึ่งไปดำเนินการอย่างอื่นซึ่งมีผลทำให้ภาร เดิมไม่บรรลุเป้าหมายจะทำได้เฉพาะกรณีที่... ?
ก. ภารกิจนั้นไม่อาจดำเนินการตามวัตถุประสงค์ต่อไปได้
ข. ภารกิจนั้นหมดความจำเป็นหรือไม่เป็นประโยชน์หรือหากดำเนินการต่อไปจะต้องเสียค่าใชจ่ายเกินความ จำเป็น
ค. มีความจำเป็นอย่างอื่นมิอาจหลีกเลี่ยงได้ที่จะต้องเปลี่ยนแปลงสาระสำคัญของแผนปฏิบัติ
ง. ข และ ค
จ. ก ข และ ค
17. การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนราชการต้อง.........?
ก. กำหนดเป้าหมายการปฏิบัติราชการ
ข. มีแผนการทำงาน
ค. กำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของโครงการและงบประมาณที่ต้องใช้ในแต่ละโครงการ และต้องดผยแพร่ให้ ข้าราชการและประชาชนทราบ
ง. ก และ ค
จ. ก ข และ ค
18. การจัดบัญชีต้นทุน ในการบริการสาธารณะ แต่ละประเภทเป็นไปเพื่อ
ก. ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ข. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ค. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ง. ข และ ค
จ. ก ข และ ค
19. การจัดทำบัญชีต้นทุนในการบริการสาธารณะ ต้อจัดทำตามหลักเกณฑ์หนือหน่วยงานใดกำหนด
ก. สำนักงบประมาณ
ข. สำนักงาน ก.พ.ร.
ค. กระทรวงการคลัง
ง. กรมบัญชีกลาง
จ. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
20. เมาส่วนราชการคำนวณรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะที่มีอยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการ แล้วเสร็จต้องรายงานให้หน่วยงานใดทราบ
ก. สำนักงบประมาณ
ข. กรมบัญชีกลาง
ค. ก.พ.ร.
ง. ก และ ข
จ. ก ข และค
21. หน่วยงานใดมีหน้าที่ประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการได้ดำเนินการ
ก. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ข. สำนักงบประมาณ
ค. สำนักงาน ก.พ.ร.
ง. ก และ ข 
จ ก ข และ ค
22. ในการประเมินความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐให้คำนึง
ก. ประเภทและสภาพของแต่ละภารกิจ
ข. ความเป็นไปได้ของภารกิจหรืองานโครงการที่ได้ดำเนินการ
ค. ประโยชน์ที่รัฐและประชาชนพึงจะได้รับและจ่ายที่ต้องเสียไปก่อนและหลังที่ส่วนราชการได้ ดำเนินการ
ง. ข และ ค
จ. ก ข และ ค
23. การจัดซื้อจัดจ้างต้องดำเนินการโดย
ก. การจัดซื้อจัดจ้างมีวัตถุประสงค์ในการใช้ที่ต้องคำนึงถึงคุณภาพและการดูแลรักษาเป็นสำคัญ
ข. การจัดซื้อจัดจ้างเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์
ค. การจัดซื้อจัดจ้างนวัตกรรมใหม่ที่มีผู้ผลิตน้อยราย
ง. การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าตามบัญชีมาตรฐานอุตสาหกรรม
จ. การจัดซื้อจัดจ้างที่ต้องคำนึงถึงประโยชน์และผลเสียทางสังคม
24. การจัดซื้อจัดจ้างต้องดำเนินการโดย
ก. เปิดเผยและเที่ยงธรรม
ข. พิจารณาถึงประโยชน์ และผลเสียทางสังคม ภาระต่อประชาชน คุณภาพ และวัตถุประสงค์ที่จะใช้
ค. พิจารณาถึงราคาประโยชน์ระยะยาวของส่วนราชการที่ได้รับประกอบกัน
ง. ก และ ค
จ. ก ข และ ค
25. ในการปฏิบัติภารกิจใด หากส่วนราชการจำเป็นต้องได้รับอนุมัติ อนุญาต หรือขอความเห็นจากส่วนราชการ อื่น ส่วนราชการที่มีอำนาจพิจารณา ต้องแจ้งผลการพิจารณาให้ส่วนราชการที่ยื่นคำขอ ทราบภายในกี่วัน
ก. 7วัน
ข. 15 วัน หรือตามที่ส่วนราชการที่มีอำนาจประกาศกำหนด
ค. 30 วัน และสามารถขยายได้อีก 30 วัน หรือตามที่กฎหมายเฉพาะกำหนด
ง. 30 วัน และสามารถขยายได้อีก 30 วัน หรือตามที่กฎหมายเฉพาะกำหนด
จ. 16 วัน และสามารถขยายได้ไม่เกิน 30 วัน หรือตามที่กฎหมายกำหนด
26. ข้อใดมิใช่หลักในการวินิจฉัยปัญหาของส่วนราชการในรูปแบบของคณะกรรมการตามพระราชกฤษฎีกาว่า ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
ก. การตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาให้ดำเนินการได้เท่าที่จำเป็นอันไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
ข. เมื่อคณะกรรมการมีมติเป็นประการใดแล้วให้มติของคณะกรรมการผูกพันส่วนราชการ ซึ่งมีผู้แทนร่วม เป็นกรรมการอยู่ด้วยแม้ว่าผู้แทนส่วนราชการที่เป็นกรรมการจะมิได้เข้าร่วมการพิจารณาวินิจฉัยก็ตาม
ค. มติของคณะกรรมการผูกพันกับส่วนราชการที่มีตัวแทนเป็นกรรมการ ยกเว้นการวินิจฉัยในด้านปัญหา กฎหมาย
ง. ถ้ามีความแตกต่างกันสองฝ่ายให้บันทึกเหตุผลกรรมการฝ่ายข้างน้อย ไว้ให้ปรากฏเรื่องนั้นด้วย
จ. ทุกข้อเป็นหลักในการวินิจฉัยปัญหาในรูปและคณะกรรมการ
27. ข้อใด มิได้เกี่ยวข้องกับการบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ก. การจัดทำบัญชีต้นทุนในการบริการสาธารณะ
ข. การกำหนดตัวชี้วัดผลสำเร็จของภารกิจ
ค. การกำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาในการจัดซื้อจัดจ้าง
ง. การสั่งราชการโดยปกติให้ทำโดยลายลักษณ์อักษร
จ. ข และ ง
28. การกระจายอำนาจ การตัดสินใจมุ่งผลให้เกิดในเรื่องใด
ก. ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ
ข. ลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ
ค. ความสะดวกและรวดเร็วในการบริการประชาชน
ง. ข และ ค
จ. ก ข และ ค
29. ส่วนราชการจะต้องจัดทำแผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลาการดำเนินการในการปฏิบัติงานด้านใดเปิดเผยไว้ ณ ที่ทำการของส่วนราชการและระบบเครือข่ายสารสนเทศ
ก. การบริการประชาชน
ข. การติดต่อประสานงานกับส่วนราชการด้วยกัน
ค. การจัดซื้อจัดจ้าง
ง. ก และ ข
จ. ก ข และ ค

 

30. การจัดตั้งศูนย์บริหารร่วม เป็นหน้าที่ของใคร
ก. หัวหน้าส่วนราชการ
ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ
ค. ปลัดกระทรว
ง. ก และ ข
จ. ข และ ค
31. การปรับปรุง ภารกิจอำนาจหน้าที่โครงสร้างและอัตรากำลังส่วนราชการเป็นไปโดย
ก. ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ข. พระราชบัญญัติ
ค. พระราชกฤษฎีกา
ง. กฎกระทรวง
จ. ระเบียบกระทรวง
32. เมื่อมีการยุบเลิก โอน หรือรวมส่วนราชการใดทั้งหมดหรือบางส่วนห้ามมิให้จัดตั้งส่วนราชการที่มีภารกิจและ อำนาจหน้าที่ที่มีลักษณะเดียวกันหรือคล้ายคลึงกับส่วนราชการดังกล่าวขึ้นอีกเว้นแต่
ก. มีการเปลี่ยนแปลงแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
ข. มีเหตุผลจำเป็นเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศ
ค. ก และ ข
ง. ก ข และ ค
33. ข้อควรคำนึงถึงที่สำคัญของการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ให้ทันสมัย และเหมาะสมกับ สภาวะการณ์คือ 
ก. ความสะดวกรวดเร็ว และลดภาระของประชาชน
ข. การพัฒนาประเทศ
ค. ประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจ
. การปฏิบัติตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
จ. การรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน



34. การแก้ไข ปรับปรุง หรือยกเลิกกฎหมาย หากส่วนราชการไม่เห็นชอบด้วยกับสำนักงานคณะกรรมการ ให้ เสนอกฤษฎีกา ให้เสนอเรื่องต่อ..........................เพื่อวินิจฉัย
ก. คณะกรรมการร่างกฎหมายเพื่อการพัฒนาประเทศ
ข. ก.พ.ร.
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. รัฐมนตรีผู้รักษาการ
จ. นายกรัฐมนตรี
35. ข้อใดมีอำนาจในการกำหนดเวลาแล้วเสร็จของงานและงานให้ส่วนราชการถือปฏิบัติ
ก. ก.พ.ร.
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรีเจ้าสังกัด
ง. คณะรัฐมนตรี
จ. ก และ ข
36. เมื่อส่วนราชการได้รับการติดต่อสอบถามเป็นหนังสือจากประชาชนเป็นหน้าที่ของส่วนราชการจะต้องตอบ คำถามหรือแจ้งการดำเนินการทราบภายใน..................
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 15 วัน และสามารถขยายเวลาได้อีก
ง. 30 วัน
จ. 30 วัน และสามารถขยายเวลาได้อีก 30 วัน
37. ส่วนราชการจะต้องจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศในระบบเดียวกันกับหน่วยงานใด
ก. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ข. ก.พ.ร.
ค. สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ง. สำนักงบประมาณ
จ. หน่วยงานที่ ก.พ.ร. มอบหมายโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
38. ส่วนราชการจัดให้มีผู้ประเมินอิสระดำเนินการประเมินการปฏิบัติราชการของส่วนราชการเกี่ยวกับ
ก. ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ
ข. คุณภาพให้บริการและความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ
ค. ความคุ้มค่าในภารกิจ
ง. ข และ ค
จ. ก ข และ ค
39. ข้อใดมิใช่หลักการที่ส่วนราชการใช้ในการประเมินภาพรวมของผู้บังคับในแต่ละระดับ
ก. การประเมินต้องทำเป็นความลับ
ข. การประเมินเป็นไปเพื่อประโยชน์แห่งความสามัคคีของข้าราชการ
ค. การประเมินต้องเป็นไปโดยโปร่งใส
ง. ต้องแจ้งวิธีการประเมินให้ผู้ประเมินทราบล่วงหน้า
จ. ค และ ง
40. ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี อย่างน้อยต้องมีหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับ ก.การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ก. การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ข. การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ค. การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน
ง. ข และ ค
จ. ก ข และ ค
41. ข้อใดเป็นหลักเกณฑ์การได้มาซึ่งเงินรางวัลให้แก่ราชการ
ก. ส่วนราชการให้บริการที่มีคุณภาพและเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
ข. ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรี จัดสรรเงินเพิ่มพิเศษเป็นบำเน็จความชอบแก่ส่วนราชการ
ค. ให้ใช้เงินงบประมาณเหลือจ่ายของส่วนราชการ
ง. ก และ ข
จ. ก ข และ ค
42. เงินรางวัลเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ส่วนราชการได้มาโดย
ก. ส่วนราชการได้ดำเนินงานตามเป้าหมายสามารถเพิ่มผลงานและผลสัมฤทธิ์
ข. ส่วนราชการได้ดำเนินการตามเป้าหมาย
ค. ส่วนราชการได้ดำเนินการตามเป้าหมายสามารถเพิ่มผลงานและผลสัมฤทธิ์โดยไม่เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่าย
ง. ส่วนราชการได้ดำเนินงานตามแผนการลดค่าใช้จ่ายต่อหน่วย
จ. ค และ ง


เฉลยข้อสอบพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
กิจการบ้านเมืองที่ พ.ศ. 2546

1. ง 22. จ
2. ก 23. ก
3. จ 24. จ
4. จ 25. ข
5. จ 26. จ
6. ง 27. ข
7. ค 28. ค
8. ง 29. ง
9. ก 30. ค
10. ค 31. ก
11. ง 32. ค
12. ง 33. ก
13. ง 34. ค
14. ก 35. ก
15. ข 36. ข
16. จ 37. ก
17. จ 38. จ
18. ข 39. จ
19. ง 40. ง
20. จ 41. จ
21. ง 42. จ

 

 
waoram valrom2009@gmail.com [101.51.51.xxx] เมื่อ 14/01/2017 13:57
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
รูปประกอบความคิดเห็น :
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
อีเมล์ :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :