แนวข้อสอบเตรียมสอบปลัดอำเภอ ชุด คืนความรู้ให้สังคม รวบรวมโดยประพันธ์ เวารัมย์ |
|
อ้างอิง
อ่าน 469 ครั้ง / ตอบ 0 ครั้ง
|
ประพันธ์ เวารัมย์
|
แนวข้อสอบเตรียมสอบปลัดอำเภอ
ชุด คืนความรู้ให้สังคม
รวบรวมโดยประพันธ์ เวารัมย์
http://waoram.myreadyweb.com/webboard/category-114327.html
**************************************
51. คำลงท้าย หนังสือราชการถึงสมเด็จพระสังฆราช ตามระเบียบงานสารบรรณกำหนดให้ใช้ว่าอย่างไร
ก. ขอนมัสการด้วยความเคารพอย่างยิ่ง
ข. กราบทูลนมัสการด้วยความเคารพอย่างยิ่ง
ค. ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
ง. ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
จ. ระเบียบมิได้ระบุไว้
***********************************************
52. ตำแหน่งใดต่อไปนี้ การแต่งตั้งต้องเป็นอำนาจของอธิบดีเจ้าสังกัด
ก. วิชาการระดับเชี่ยวชาญ
ข. วิชาการระดับปฏิบัติการ
ค. อำนวยการระดับต้น
ง. อำนวยการระดับสูง
จ. วิชาการระดับปฏิบัติการ
***********************************************
53. ตำแหน่งใดต่อไปนี้ การแต่งตั้งต้องได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี
ก. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม
ข. หัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง
ค. ตำแหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และข้อ ข.
จ. ถูกทุกข้อ
***********************************************
54. ปลัดอำเภอ เป็นข้าราชการพลเรือนประเภทใด
ก. ทั่วไป
ข. วิชาการ
ค. อำนวยการ
ง. บริหาร
จ. ไม่มีข้อใดกล่าวถูกต้อง
***********************************************
55. ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นตำแหน่งข้าราชการพลเรือนประเภท และระดับใด
ก. บริหารระดับต้น
ข. ชำนาญการ
ค. บริหารระดับสูง
ง. เชี่ยวชาญ
จ. ทรงคุณวุฒิ
***********************************************
56. กรณีข้าราชการถูกสั่งให้ออกจากราชการต้องอุทธรณ์ต่อหน่วยงานใด ภายในกี่วัน
ก. อุทธรณ์ต่อ อ.ก.พ. กรมภายใน 30 วัน
ข. อุทธรณ์ต่อ ก.พ. ภายใน 30 วัน
ค. อุทธรณ์ต่อ อ.ก.พ. กระทรวงภายใน 30 วัน
ง. อุทธรณ์ต่อ อ.พ.ค. ภายใน 30 วัน
จ. อุทธรณ์ต่อนายกรัฐมนตรี ภายใน 30 วัน
***********************************************
57. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติมี กี่ประเภท
ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
จ. 6 ประเภท
***********************************************
58. แจ้งความ เป็นหนังสือราชการชนิดใด
ก. หนังสือสั่งการ
ข. หนังสือภายใน
ค. หนังสือประชาสัมพันธ์
ง. หนังสือราชการภายนอก
จ. ไม่ถือเป็นหนังสือราชการ
***********************************************
59. ผู้มีอำนาจในการบรรจุแต่งตั้งในตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับต้น คือใคร
ก. อธิบดีเจ้าสังกัด
ข. ปลัดกระทรวง
ค. อธิบดีเจ้าสังกัดโดยความเห็นชอบของปลัดกระทรวง
ง. ปลัดกระทรวงโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี
จ. ไม่มีข้อใดกล่าวถูกต้อง
***********************************************
60. ตำแหน่งประเภทใดใช้วุฒิปริญญาตรี
ก. ประเภททั่วไป
ข. ประเภทวิชาการ
ค. ประเภทอำนวยการ
ง. ประเภทบริหาร
จ. ประเภทชำนาญการ
***********************************************
61. ตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนมีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
จ. 6 ประเภท
***********************************************
62. ผู้ทรงคุณวุฒิใน อ.ก.พ. จังหวัดมีสาขาใดบ้าง
ก. ด้านกฎหมาย
ข. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
ค. ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล
ง. ข้อ ก. และข้อ ค.
จ. ถูกทุกข้อ
***********************************************
63. อ.ก.พ. จังหวัด มีประธาน รองประธาน และอนุกรรมการ รวมกันเป็นจำนวนเท่าใด
ก. 7 คน
ข. 8 คน
ค. 9 คน
ง. 10 คน
จ. 11 คน
***********************************************
64. การย้ายปลัดอำเภอจากอำเภอหนึ่งให้ไปดำรงตำแหน่งอีกอำเภอหนึ่งภายในจังหวัดเดียวกันเป็นอำนาจใคร
ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ข. อธิบดีกรมการปกครอง
ค. ปลัดจังหวัด
ง. ข้อ ก. และข้อ ข.
จ. ถูกทุกข้อ
***********************************************
65. ข้าราชการพลเรือนสามัญที่ประสงค์จะลาออกจากราชการให้ยื่นหนังสือลาออกต่อใคร
ก. ผู้บังคับบัญชา
ข. หัวหน้าฝ่าย
ค. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม
ง. ผู้อำนวยการกองการเจ้าหน้าที่
จ. ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง
***********************************************
66. การที่ส่วนราชการมีคำสั่งให้ข้าราชการไปดำรงตำแหน่งอื่นในระดับเดิมในส่วนราชการเดียวกันเรียกว่า
ก. การโอน
ข. การย้าย
ค. การบรรจุ
ง. การสับเปลี่ยนตำแหน่ง
จ. การเลื่อนระดับ
***********************************************
67. ตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือจังหวัดเป็นข้าราชการประเภท/ระดับใด
ก. วิชาการ
ข. บริหารระดับต้น
ค. ผู้คุณวุฒิ
ง. อำนวยการระดับสูง
จ. บริหารระดับสูง
***********************************************
68. ประธานคณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. คือใคร
ก. ประธานรัฐสภา
ข. ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน
ค. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
ง. ประธานศาลปกครองสูงสุด
จ. ประธานศาลฎีกา
***********************************************
69. ข้อใดเป็นโทษวินัยไม่ร้ายแรง
ก. ทัณฑ์บน
ข. ให้ออก
ค. ปลดออก
ง. ลดเงินเดือน
จ. ไล่ออก
***********************************************
70. ลำดับโทษทางวินัยเป็นไปตามข้อใด
ก. ทัณฑ์บน ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ปลดออก ไล่ออก
ข. ทัณฑ์บน ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน ปลดออก ไล่ออก
ค. ตัดเงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน ให้ออก ปลดออก ไล่ออก
ง. ภาคทัณฑ์ ลดขั้นเงินเดือน ให้ออก ปลดออก ไล่ออก
จ. ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน ปลดออก ไล่ออก
***********************************************
71. ปลัดกระทรวงมีฐานะอะไร ในอ.ก.พ.กระทรวง
ก. เป็นที่ปรึกษา อ.ก.พ. กระทรวง
ข. เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน อ.ก.พ. กระทรวง
ค. เป็นประธานคณะกรรมการ อ.ก.พ. กระทรวง
ง. เป็นรองประธาน อ.ก.พ.กระทรวง
จ. ไม่มีข้อใดกล่าวถูกต้อง
***********************************************
72. ใครเป็นผู้ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้ พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. สำนักงาน ก.พ.
ง. เลขาธิการ ก.พ.
จ. คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
***********************************************
73. ปัจจุบันกฎหมายระเบียบข้าราชการพลเรือนกำหนดให้คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนมีกี่คน
ก. 10 – 12 คน
ข. 11 – 13 คน
ค. 12 – 14 คน
ง. 13 – 15 คน
จ. 15 – 16 คน
***********************************************
74. ผู้มีอำนาจพิจารณาอนุญาตการลาออกจากราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญมีอำนาจยับยั้งการลาออกได้ กี่วัน
ก. ไม่เกิน 30 วัน
ข. ไม่เกิน 45 วัน
ค. ไม่เกิน 60 วัน
ง. ไม่เกิน 90 วัน
จ. ไม่เกิน 120 วัน
***********************************************
75. ใครเป็นผู้มีอำนาจแต่งตั้งรองผู้ว่าราชการจังหวัด
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. อธิบดีกรมการปกครอง
จ. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
***********************************************
76. ใครเป็นผู้บริหารราชการของสำนักงาน ก.พ.
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รองนายกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ง. เลขาธิการ ก.พ.
จ. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
***********************************************
77. ตำแหน่งใด ไม่ได้รับเงินประจำตำแหน่ง
ก. ปลัดจังหวัด
ข. ปลัดอำเภอ
ค. รองผู้ว่าราชการจังหวัด
ง. ปลัดเทศบาล
จ. ผู้ว่าราชการจังหวัด
***********************************************
78. ข้อใดไม่ใช่วินัยตามที่กฎหมายข้าราชการพลเรือนบัญญัติไว้
ก. รักษาความลับของทางราชการ
ข. อุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ
ค. ไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา
ง. สนับสนุนการปกครองของคณะรัฐบาล
จ. ให้ความเป็นธรรมและให้ความสงเคราะห์แก่ประชาชนผู้มาติดต่อราชการ
***********************************************
79. ใครเป็นประธาน ก.พ.
ก. รองนายกรัฐมนตรี
ข. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. เลขาธิการ ก.พ.
ง. รัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
จ. นายรัฐมนตรี
***********************************************
80. ข้าราชการพลเรือน มีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
จ. 6 ประเภท
***********************************************
81. หากจะไปติดต่อทำบัตรประชาชนต้องติดต่อที่ฝ่ายใด ในที่ทำการปกครองอำเภอ
ก. ฝ่ายอำนวยความเป็นธรรม
ข. ฝ่ายทะเบียนและบัตร
ค. ฝ่ายความมั่นคง
ง. ฝ่ายบริหารงานปกครอง
จ. ถูกทุกข้อ
***********************************************
82. หากจะมีการจัดตั้งจังหวัดแม่สอด และจังหวัดชุมแพ ตามที่เป็นข่าวการจัดตั้งต้องตราเป็นกฎหมายใด
ก. พระราชกำหนด
ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. ประกาศกระทรวงมหาดไทย
ง. คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี
จ. พระราชบัญญัติ
***********************************************
83. ตำแหน่งใด ไม่มีกำหนดไว้ในกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ก. ปลัดกระทรวง
ข. อธิบดี
ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ง. ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด
จ. ผู้ช่วยนายอำเภอ
***********************************************
84. “อำเภอ” หมายถึงข้อใด
ก. หน่วยบริหารการปกครองรองจากจังหวัด
ข. พื้นที่การปกครองรองจากจังหวัด
ค. หน่วยราชการบริหารรองจากจังหวัด
ง. หน่วยการปกครองจากจังหวัด
จ. เขตการปกครองจากจังหวัด
***********************************************
85. การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคของไทย ใช้หลักปกครองประเทศแบบใด
ก. แบ่งอำนาจ
ข. กระจายอำนาจ
ค. มอบอำนาจ
ง. แบ่งแยกอำนาจ
จ. รวมอำนาจ
***********************************************
86. ราชการส่วนท้องถิ่นอื่น ตามที่กฎหมายกำหนด หมายถึงข้อใด
ก. เทศบาล
ข. องค์การบริหารส่วนจังหวัด
ค. สภาตำบล
ง. สุวรรณภูมิมหานคร
จ. กรุงเทพมหานคร
***********************************************
87. ถ้าต้องการดูอำนาจหน้าที่ของกรมการปกครองจะดูได้ที่กฎหมายใด
ก. พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
ข. พ.ร.ฎ. แบ่งส่วนราชการของกรมการปกครอง
ค. กฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการของกรมการปกครอง
ง. คำสั่งกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการกำหนดอำนาจหน้าที่ส่วนราชการกรมการปกครอง
จ. ประกาศกระทรวงว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการของกรมการปกครอง
***********************************************
88. กรณีใดต่อไปนี้ ถือว่าเป็นกรณีที่นายอำเภอไม่สามารถปฏิบัติราชการได้
ก. นายอำเภอถูกประจำจังหวัด
ข. นายอำเภอป่วยเข้าโรงพยาบาล
ค. นายอำเภอไปราชการจังหวัด
ง. นายอำเภอไปอบรมหลักสูตรนักบริหารระดับสูง
จ. ถูกทุกข้อ
***********************************************
89. ถ้ากฎหมายใด มิได้บัญญัติว่าการปฏิบัติตามกฎหมายนั้นเป็นหน้าที่ของผู้ใด ในอำเภอโดยเฉพาะให้เป็นหน้าที่ของผู้ใด
ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ข. นายอำเภอ
ค. กรมการปกครอง
ง. ที่ทำการปกครองจังหวัด
จ. สำนักงานอำเภอ
***********************************************
90. ใครเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารจังหวัดและอำเภอ
ก. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ข. อธิบกรมการปกครอง
ค. ปลัดจังหวัดและนายอำเภอ
ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
จ. ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอ*
***********************************************
91. องค์กรใด ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาในการบริหารราชกการแผ่นดินของผู้ว่าราชการจังหวัด
ก. สำนักงานจังหวัด
ข. ที่ทำการปกครองจังหวัด
ค. คณะกรรมการพัฒนาจังหวัด
ง. คณะกรมการจังหวัด
จ. คณะกรรมการที่ปรึกษาจังหวัด
***********************************************
92. ข้อใด ไม่เป็นหัวหน้าส่วนราชการประจำหวัดตามกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ก. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด
ข. โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ค. หัวหน้าสำนักงานจังหวัด
ง. ปลัดจังหวัด
จ. อัยการ
***********************************************
93. กระทรวงมหาดไทยมีส่วนราชการทั้งหมดเท่าไหร่
ก. 7
ข. 8
ค. 9
ง. 10
จ. 11
***********************************************
94. ผู้ใดเป็นเลขานุการของคณะกรมการจังหวัด
ก. รองผู้ว่าราชการจังหวัด
ข. ปลัดจังหวัด
ค. ท้องถิ่นจังหวัด
ง. หัวหน้าสำนักงานจังหวัด
จ. พัฒนาการจังหวัด
***********************************************
95. ข้อใดเป็นส่วนราชการที่มีฐานะเทียบเท่ากรม
ก. สลากกินแบ่งรัฐบาล
ข. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ค. สถาบันดำรงราชานุภาพ
ง. สำนักอำนวยการกองอาสารักษาดินแดน
จ. สำนักนโยบายและแผนมหาดไทย
***********************************************
96. ข้อใดเป็นส่วนราชการที่มีฐานะเทียบเท่ากรม
ก. สลากกินแบ่งรัฐบาล
ข. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ค. สถาบันดำรงราชานุภาพ
ง. สำนักอำนวยการกองอาสารักษาดินแดน
จ. สำนักนโยบายและแผนมหาดไทย
***********************************************
97. ส่วนราชการใด ไม่อยู่ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย
ก. กรมการพัฒนาชุมชน
ข. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
ค. กรมโยธาธิการและผังเมือง
ง. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
จ. กรมพัฒนาที่ดิน
***********************************************
98. ปัจจุบันประเทศไทย มีส่วนราชการมีฐานะเป็นกระทรวง จำนวนเท่าใด
ก. 14
ข. 16
ค. 18
ง. 20
จ. 22
***********************************************
99. ข้อใดไม่ใช่การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของไทยในปัจจุบัน
ก. ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
ข. ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
ค. ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง
ง. ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด
จ. ไม่มีข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
***********************************************
100. การพิจารณาแนวเขตปกครองของหน่วยการปกครองต่างๆ ให้พิจารณา
ก. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งอำเภอ
ข. ประกาศกระทรวงมหาดไทยตั้งตำบล
ค. ประกาศกระทรวงมหาดไทยตั้งกิ่งอำเภอ
ง. พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัด
จ. ถูกทุกข้อ
***********************************************
101. ใครเป็นผู้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย คณะรัฐมนตรีของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา
ก. พลเอกสุรศักดิ์ กาญจนรัตน์
ข. พลเอกอนุพงษ์ เผ่าจินดา
ค. นายสุธี มากบุญ
ง. พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ
จ. พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง
***********************************************
102. พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่เท่าใดของประเทศไทย
ก. 26
ข. 27
ค. 28
ง. 29
จ. 30
***********************************************
103. ใครเป็นผู้แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ก. ประธานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
จ. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
***********************************************
104. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. 20 กรกฎาคม 2557
ข. 21 กรกฎาคม 2557
ค. 22 กรกฎาคม 2557
ง. 23 กรกฎาคม 2557
จ. 24 กรกฎาคม 2557
***********************************************
105. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 ประกาศในราช กิจจานุเบกษาวันที่เท่าใด
ก. 20 กรกฎาคม 2557
ข. 21 กรกฎาคม 2557
ค. 22 กรกฎาคม 2557
ง. 23 กรกฎาคม 2557
จ. 24 กรกฎาคม 2557
***********************************************
106. คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติเข้ายึดอำนาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่เท่าใด
ก. 22 เมษายน 2557
ข. 21 พฤษภาคม 2557
ค. 22 พฤษภาคม 2557
ง. 23 พฤษภาคม 2557
จ. 22 มิถุนายน 2557
***********************************************
107. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 มีกี่มาตรา
ก. 22 มาตรา
ข. 40 มาตรา
ค. 41 มาตรา
ง. 48 มาตรา
จ. 49 มาตรา
***********************************************
108. ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อยู่มาตราใด ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557
ก. มาตรา 1
ข. มาตรา 2
ค. มาตรา 3
ง. มาตรา 4
จ. มาตรา 5
***********************************************
109. การกำหนดแนวทางการแก้ปัญหาตามรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ กำหนดไว้กี่ระยะ
ก. 1 ระยะ
ข. 2 ระยะ
ค. 3 ระยะ
ง. 4 ระยะ
จ. ไม่ได้กำหนด
***********************************************
110. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้เข้ายึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ และให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 สิ้นสุดลง ยกเว้นความในหมวดใด
ก. หมวด 1
ข. หมวด 2
ค. หมวด 3
ง. หมวด 4
จ. หมวด 5
***********************************************
111. การจัดสภาขึ้นทำหน้าที่ในทางนิติบัญญัติและให้มีคณะรัฐบาลบริหารราชการแผ่นดินนั้น เป็นระยะที่เท่าใด ของรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557
ก. ระยะที่ 1
ข. ระยะที่ 2
ค. ระยะที่ 3
ง. ระยะที่ 4
จ. ระยะสุดท้าย
***********************************************
112. การใช้อำนาจสกัดการใช้กำลังและการนำอาวุธมาใช้คุกคามประชาชน ยุติความหวาดระแวงและแก้ปัญหาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการปกครอง เป็นระยะที่เท่าใด ของรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557
ก. ระยะแรก
ข. ระยะที่ 2
ค. ระยะที่ 3
ง. ระยะที่ 4
จ. ระยะสุดท้าย
***********************************************
113. ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งเดียวจะแบ่งแยกมิได้ อยู่ในมาตรารัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557
ก. มาตรา 1
ข. มาตรา 2
ค. มาตรา 3
ง. มาตรา 4
จ. มาตรา 5
***********************************************
114. รัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557 ให้ไว้เป็นปีที่เท่าใด ของรัชกาลปัจจุบัน
ก. ปีที่ 65
ข. ปีที่ 66
ค. ปีที่ 69
ง. ปีที่ 86
จ. ปีที่ 87
***********************************************
115. หมวดบทบัญญัติเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ ซึ่งยังคงมีผลใช้บังคับอยู่ตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่เท่าใด
ก. 1/2557
ข. 2/2557
ค. 10/2557
ง. 11/2557
จ. 15/2557
***********************************************
116. อำนาจอฺธิปไตยเป็นของใคร ตามรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557
ก. คสช.
ข. พระมหากษัตริย์
ค. หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ง. ประชาชน
จ. ปวงชนชาวไทย
***********************************************
117. พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อำนาจนั้นตามข้อต่อไปนี้ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557
ก. สภาผู้แทนราษฎร
ข. ศาล
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
จ. ไม่มีข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
***********************************************
118. เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับกรณีใด ให้กระทำการนั้นหรือวินิจฉัยกรณีนั้นตามสิ่งใด
ก. คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ข. คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ค. คำสั่งศาล
ง. ประเพณีการปกครอง
จ. ประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
***********************************************
119. ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการวินิจฉัยเกิดขึ้นในวงงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ให้ใครเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด
ก. หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ข. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ค. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ง. นายกรัฐมนตรี
จ. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
***********************************************
120. เมื่อมีกรณีที่เกิดขึ้นนอกวงงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี ศาลฎีกา หรือศาลปกครองสูงสุด จะขอให้ใครวินิจฉัยก็ได้
ก. หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ข. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ค. ศาลรัฐธรรมนูญ
ง. นายกรัฐมนตรี
จ. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
***********************************************
121. สภานิติบัญญัติแห่งชาติประกอบด้วยสมาชิกจำนวนเท่าใด
ก. 200 คน
ข. ไม่เกิน 200 คน
ค. 220 คน
ง. ไม่เกิน 220 คน
จ. 250 คน
***********************************************
122. สมาชิกสภานิติบัญญัติ ต้องเป็นบุคคลตามข้อใด
ก. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
ข. เคยดำรงทางการเมืองในระยะสองปีก่อนวันที่ได้รับแต่งตั้ง
ค. อายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบปี
ง. ข้อ ข.และข้อ ค.
จ. ข้อ ก. และข้อ ค.
***********************************************
123. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา
ข. สภานิติบัญญัติแห่งชาติประกอบด้วยสมาชิกจำนวนไม่เกินสองร้อยคน
ค. สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พระมหากษัตริย์แต่งตั้งจากผู้มีสัญชาติโดยการเกิด
ง. สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พระมหากษัตริย์แต่งตั้งจากผู้อายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบปี
จ. สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจะดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาปฎิรูปแห่งชาติหรือรัฐมนตรีในขณะเดียวกันมิได้
***********************************************
124. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติตามมติของหน่วยงานใด
ก. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ข. ศาลรัฐธรรมนูญ
ค. วุฒิสภา
ง. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
จ. หัวหน้าคณะรักษาแห่งชาติ
***********************************************
125. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นรองประธานสภานิติบัญญัติจำนวนเท่าใด
ก. 1 คน
ข. 2 คน
ค. ไม่เกิน 2 คน
ง. 3 คน
จ. ไม่เกิน 3 คน
***********************************************
126. สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติผู้ใดกระทําการอันเป็นการเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของการเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือมีพฤติการณ์อันเป็นการขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจํานวนเท่าใด มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติให้ผู้นั้นพ้นจากสมาชิกภาพ
ก. 20 คน
ข. ไม่น้อยกว่า 20 คน
ค. 25 คน
ง. ไม่น้อยกว่า 25 คน
จ. 110 คน
***********************************************
127. สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติให้สมาชิกสภานิติบัญญัติที่กระทําการอันเป็นการเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของการเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ต้องมีคะแนนเสียงเท่าใดของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
ก. กึ่งหนึ่ง
ข. สองในสาม
ค. ไม่น้อยกว่าสองในสาม
ง. สามในห้า
จ. ไม่น้อยกว่าสามในห้า
***********************************************
128. การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่าเท่าใดของจํานวนสมาชิกทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
ก. สองในสาม
ข. กึ่งหนึ่ง
ค. สามในห้า
ง. สองในสี่
จ. เกินกึ่งหนึ่ง
***********************************************
129. ตามรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชบัญญัติโดยคําแนะนําและยินยอมของใคร
ก. หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ข. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ค. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ง. สภาปฏิรูปแห่งชาติ
จ. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
***********************************************
130. ในกรณีเป็นที่สงสัยว่าร่างพระราชบัญญัติที่เสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการเงินหรือไม่ ให้ใครเป็นผู้วินิจฉัย ตามรัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557
ก. หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ข. สภาปฏิรูปแห่งชาติ
ค. นายกรัฐมนตรี
ง. ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ
จ. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
***********************************************
131. ร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ได้รับความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแล้ว ให้ใครนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงปรมาภิไธย
ก. หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ข. นายกรัฐมนตรี
ค. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ง. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
จ. ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ
***********************************************
132. ข้อใดไม่ใช่ จรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือน
ก. ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล
ข. ซื่อสัตย์สุจริตและมีความรับผิดชอบ
ค. ปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม
ง. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้
จ. ไม่มีข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
***********************************************
134. “การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือน การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง” ได้บัญญัติไว้ในมาตราใดของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
ก. มาตรา 34
ข. มาตรา 35
ค. มาตรา 53
ง. มาตรา 57
จ. มาตรา 75
**********************************
135. ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวไม่ถูกต้อง
ก. จังหวัดมีฐานะเป็นนิติบุคคล
ข. ให้รองผู้ว่าราชการจังหวัดร่วมเป็นคณะกรมการจังหวัดด้วย
ค. ให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็นส่วนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี
ง. การเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
จ. ให้รวมท้องที่หลายๆอำเภอขึ้นเป็นจังหวัด
***********************************************
136. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ ก.พ.ร. มีจำนวนตามข้อใด
ก. ไม่เกิน 3 คน
ข. ไม่เกิน 5 คน
ค. ไม่เกิน 7 คน
ง. ไม่เกิน 9 คน
จ. ไม่เกิน 10 คน
***********************************************
137. ผู้รักษาตามระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553 คือใคร
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ข. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ง. รองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
จ. นายกรัฐมนตรี
***********************************************
138. การรวม หรือการโอน ถ้าไม่มีการกำหนดตำแหน่งหรืออัตราข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มขึ้น สำนักงาน ก.พ. และสำนักงบประมาณต้องตรวจสอบมิให้การกำหนดตำแหน่งข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มขึ้นจนกว่าจะครบกี่ปี
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 3 ปี
ง. 4 ปี
จ. 5 ปี
***********************************************
139. การจัดตั้ง การรวมหรือ การโอน ส่วนราชการ ที่มีผลในการกำหนดอัตราข้าราชการขึ้นใหม่ต้องตราเป็นกฎหมายใด
ก. ประกาศกระทรวง
ข. กฎกฎกระทรวง
ค. พระราชกำหนด
ง. พระราชกฤษฎีกา
จ. พระราชบัญญัติ
**********************************
140. การรวม หรือการโอน กระทรวง ทบวง กรม ถ้าไม่มีการกำหนดตำแหน่งหรืออัตราข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่ม ให้ตราเป็นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ
ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง
ง. พระราชกำหนด
จ. ประกาศกระทรวง
***********************************************
141. สำนักนายรัฐมนตรีมีเป็นฐานะตามข้อใด
ก. ส่วนราชการ
ข. ทบวง
ค. กรม
ง. กระทรวง
จ. องค์กรอิสระ
***********************************************
142.ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการกำหนดนโยบายในสำนักนายกรัฐมนตรี
ก. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ง. รองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
จ. นายกรัฐมนตรี
***********************************************
143. ผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวง นอกเหนือจากสำนักนายกรัฐมนตรี คือใคร
ก. ปลัดกระทรวง
ข. อธิบดี
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ง. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมอบหมาย
จ. นายกรัฐมนตรี
***********************************************
144.ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของกรมให้เกิดผลสัมฤทธิ์และเป็นไปตามเป้าหมาย แนะทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ข. ปลัดกระทรวง
ค. อธิบดี
ง. ผู้อำนวยการกอง
จ. เลขานุการรัฐมนตรี
***********************************************
145. สำนักงานรัฐมนตรี ตำแหน่งใดเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ
ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ข. ปลัดกระทรวง
ค. อธิบดี
ง. เลขาธิการรัฐมนตรี
จ. เลขานุการรัฐมนตรี
***********************************************
146. ตำแหน่งใด ไม่เป็นข้าราชการเมือง
ก. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ข. เลขานุการรัฐมนตรี
ค. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ง. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
จ. ปลัดกระทรวง
***********************************************
147. ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ก. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
ค. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ง. เลขานุการรัฐมนตรี
จ. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
***********************************************
148. สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ตำแหน่งใดเป็นผู้บังคับบัญชา
ก. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
ข. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ค. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ง. เลขาธิการ ก.พ.
จ. เลขานุการรัฐมนตรี
***********************************************
149. ในระหว่างที่คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่ เพราะเหตุความเป็นนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงตามที่กฎหมายกำหนด จะต้องดำเนินการตามข้อใด
ก. ให้นายรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน
ข. ให้นายกรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติราชการแทน
ค. ให้รองนายกรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติหน้าที่แทน
ง. ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติหน้าที่แทน
จ. ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน
***********************************************
150. ตำแหน่งใด เป็นผู้บังคับบัญชาในสำนักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในการปฎิบัติราชการราชการของสำนักงานปลัดกระทรวง
ก. อธิบดี
ข. เลขาธิการรัฐมนตรี
ค. ปลัดกระทรวง
ง. เลขาธิการรัฐมนตรี
จ. เลขานุการรัฐมนตรี
***********************************************
151. ก.ธ.จ. ประกอบด้วยตำแหน่งใด เป็นประธานซึ่งมีเขตอำนาจในจังหวัด
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ง. ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี
จ. ปลัดกระทรวง
***********************************************
152. ตำแหน่งใดต่อไปนี้ เป็นข้าราชการการเมือง
ก. รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ข. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร
ค. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ง. อธิบดี
จ. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
***********************************************
153. หากกรมการปกครอง จะแบ่งส่วนราชการ ต้องตราเป็นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ
ข. พระราชกำหนด
ค. พระราชกฤษฎีกา
ง. ประกาศกระทรวง
จ. กฎกระทรวง
***********************************************
154. ในการมอบอำนาจของส่วนราชการตามพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน ให้ผู้มอบอำนาจพิจารณาถึงเรื่องต่อไปนี้ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. การอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน
ข. ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ
ค. การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของตำแหน่งของผู้รับมอบอำนาจ
ง. การแบ่งเบาภาระงานของผู้มอบอำนาจ
จ. ผู้รับมอบอำนาจต้องปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบอำนาจตามวัตถุประสงค์ของการมอบอำนาจ
***********************************************
|
|
ประพันธ์ เวารัมย์ [101.51.51.xxx] เมื่อ 14/01/2017 13:57
|