แนวข้อสอบท้องถิ่นเก่า ที่น่าสนใจ |
|
อ้างอิง
อ่าน 266 ครั้ง / ตอบ 0 ครั้ง
|
ประพันธ์ เวารัมย์
|
แนวข้อสอบท้องถิ่นเก่า ที่น่าสนใจ
--------------------------------------------------------------------------------
1. ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
1.1 ปี
2.2 ปี
3.3 ปี
4.4 ปี
--------------------------------------------------------------------------------------------------------
2. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการตั้งกระทู้ถามในการประชุมสภา อบต.
1. กระทู้ถามไม่มีการอภิปรายและไม่มีการลงมติ
2. ห้ามไม่ให้สมาชิกสภา อบต. ตั้งกระทู้ถามกันเอง
3. คณะผู้บริหารจะต้องตอบกระทู้กระทู้ถามนั้นทุกครั้ง
4. กระทู้ถามต้องทำเป็นหนังสือเสนอล่วงหน้าต่อประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
3. เขต อบต. มีจำนวน 11 หมู่บ้าน จะมีสมาชิกสภา อบต. ได้กี่คน
1. 11 คน
2. 12 คน
3. 22 คน
4. 24 คน
--------------------------------------------------------------------------------
4. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่น้อยกว่ากี่คน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปในการประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ
1. หนึ่งในสอง
2. หนึ่งในสาม
3. สามในสี่
4. สองในสาม
--------------------------------------------------------------------------------
5. บุคคลใดเป็นผู้ประกาศเรียกประชุมสภาสมัยวิสามัญ
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. นายอำเภอ
3. นายก อบต.
4. ประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
6. บุคคลใดต่อไปนี้มิได้เป็นสมาชิกสภาตำบลโดยตำแหน่ง
1. กำนัน
2. ผู้ใหญ่บ้าน
3. แพทย์ประจำตำบล
4. สารวัตรกำนัน
-------------------------------------------------------------------------------
7. เขต อบต. มีจำนวน 11 หมู่บ้าน จะมีสมาชิกสภา อบต. ได้กี่คน
1. 11 คน
2. 12 คน
3. 22 คน
4. 24 คน
--------------------------------------------------------------------------------
8. ข้อใดต่อไปนี้ คือคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายก อบต.
1. มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
2. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา
3. ไม่เป็นผู้มีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น หรือเลขานุการหรือที่ปรึกษาของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุที่มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัครเลือกตั้ง
4. ถูกทุกข้อ
--------------------------------------------------------------------------------
9. ในกรณีที่สภา อบต. ส่งร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีของ อบต. ให้นายอำเภออนุมัติ แต่ปรากฏล่วงเลยมา 20 วัน แล้วยังไม่มีคำตอบ จากนายอำเภอ ข้อบัญญัติดังกล่าวจะมีผลอย่างไร
1. ให้ถือว่านายอำเภออนุมัติร่างข้อบัญญัติดังกล่าว
2. สภา อบต. ทวงถามขอส่งร่างข้อบัญญัตินั้นคืนมาให้สภาทบทวน
3. ร่างข้อบัญญัตินั้นเป็นอันตกไป
4. สภา อบต. นำร่างข้อบัญญัตินั้นมาทบทวนถ้ายืนยันตามร่างเดิมด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิกสภา อบต. เท่าที่มีอยู่ให้ส่งให้นายก อบต.ประกาศใช้ข้อบัญญัตินั้นได้เลย
--------------------------------------------------------------------------------
10. บุคคลใดเป็นผู้แต่งตั้งประธานสภา อบต.
1. นายอำเภอตามมติสภา อบต.
2. ผู้ว่าราชการตามคำเสนอของนายอำเภอ
3. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
4. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
--------------------------------------------------------------------------------
11. บุคคลใดมีอำนาจสั่งให้มีการยุบสภา อบต. ได้ ตามกฎหมาย
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. นายอำเภอ
3. นายก อบต.
4. ประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
12. ข้อใดเป็นรายได้ที่ อบต.จัดเก็บเอง
1. ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย อากรฆ่าสัตว์และค่าธรรมเนียมรวมถึงผลประโยชน์อื่นอันเกิดจากการฆ่าสัตว์
2. ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน ภาษีธุรกิจเฉพาะ
3. ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน
4. ภาษีมูลค่าเพิ่ม
--------------------------------------------------------------------------------
13. บุคคลใดเป็นประธานสภาตำบล
1. กำนัน
2. ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการคัดเลือก
3. สมาชิกสภาตำบลที่ได้รับคัดเลือก
4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
--------------------------------------------------------------------------------
14. พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด และมีผลบังคับใช้เมื่อไหร่
1. 2 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 2 พฤษภาคม 2546
2. 22 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2546
3. 2 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 3 ธันวาคม 2546
4. 22 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 23 ธันวาคม 2546
--------------------------------------------------------------------------------
15. กฎหมายที่ออกเพื่อใช้บังคับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล เรียกว่า
1. ข้อบังคับตำบล
2. ข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตำบล
3. ข้อบัญญัติตำบล
4. ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล
--------------------------------------------------------------------------------
16. การบริหารงานในรูปแบบ อบต. นายก อบต. อาจแต่งตั้งรองนายก อบต. ได้ไม่เกินกี่คน
1. 1 คน
2. 2 คน *
3. 3 คน
4. 4 คน
--------------------------------------------------------------------------------
17. กฎหมายที่ออกเพื่อใช้บังคับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล เรียกว่า
1. ข้อบังคับตำบล
2. ข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตำบล
3. ข้อบัญญัติตำบล
4. ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล
--------------------------------------------------------------------------------
18. ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบล ที่มีการกำหนดค่าธรรมเนียมเรียกเก็บได้ จะกำหนดโทษปรับสำหรับผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามข้อบัญญัติได้ไม่เกินกี่บาท
1. 500 บาท
2. ไม่เกิน 500 บาท
3. 1,000 บาท
4. ไม่เกิน 1,000 บาท*
-------------------------------------------------------------------------------
19. ข้อใดมิได้เป็นลักษณะต้องห้ามของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต.
1. เป็นพนักงานในบริษัทเสริมสุขจำกัด*
2. เป็นลูกจ้างของกรุงเทพมหานคร
3. เคยถูกไล่ออกจากการเป็นพนักงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
4. อยู่ระหว่างการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
--------------------------------------------------------------------------------
20. ในกรณีที่นายก อบต. ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองนายก อบต. ตามลำดับที่นายก อบต. แต่งตั้งไว้ เป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีรองนายก หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บุคคลใดเป็นผู้รักษาราชการแทน
1. แต่งตั้งปลัด อบต. เป็นผู้รักษาราชการแทน*
2. แต่งตั้งพนักงานส่วนตำบลเป็นผู้รักษาราชการแทน
3. แต่งตั้งประธานสภาเป็นผู้รักษาราชการแทน
4. แต่งตั้งสมาชิกสภา อบต. คนหนึ่งเป็นผู้ว่าราชการแทน
--------------------------------------------------------------------------------
21. การประชุมสภาสามัญสมัยหนึ่ง ๆ ของ อบต. มีกำหนดระยะเวลาไม่เกินกี่วัน [
1. 90 วัน
2. 60 วัน
3. 30 วัน
4. 15 วัน*
---------------------------------------------------------------------------------
22. การจัดระเบียบวาระการประชุม โดยปกติจัดลำดับการพิจารณาข้อปรึกษาในอันดับก่อนหลังดังนี้
1. รับรองรายงานการประชุม , เรื่องด่วน , ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , ญัตติอื่นๆ*
2. เรื่องด่วน , ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , ญัตติอื่นๆ , รับรองรายงานการประชุม
3. ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , เรื่องด่วน , ญัตติอื่นๆ , รับรองรายงานการประชุม
4. เรื่องด่วน , ญัตติร่างข้อบังคับที่เสนอใหม่ , ญัตติอื่นๆ , รับรองรายงานการประชุม , ญัตติร่างข้อบัญญัติที่ค้างพิจารณา
--------------------------------------------------------------------------------
23. ผู้อนุญาตให้ อบต. กู้เงินจากกระทรวง ทบวง กรม องค์การหรือนิติบุคคลต่างๆ ได้ คือ
1. นายก อบต.
2. สภา อบต. *
3. นายอำเภอ
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
24. ข้อใดมิได้เป็นลักษณะต้องห้ามของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต.
1. เป็นพนักงานในบริษัทเสริมสุขจำกัด*
2. เป็นลูกจ้างของกรุงเทพมหานคร
3. เคยถูกไล่ออกจากการเป็นพนักงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
4. อยู่ระหว่างการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
--------------------------------------------------------------------------------
25. ข้อใดต่อไปนี้ คือคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายก อบต.
1. มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
2. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา
3. ไม่เป็นผู้มีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น หรือเลขานุการหรือที่ปรึกษาของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุที่มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัครเลือกตั้ง
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
26. สภาองค์การบริหารส่วนตำบล ประกอบด้วยสมาชิกตามข้อใด
1. สมาชิกสภา อบต. จำนวนหมู่บ้านละ 1 คน
2. สมาชิกสภา อบต. จำนวนหมู่บ้านละ 2 คน*
3. สมาชิกสภา อบต. ตำบลละ 12 คน
4. สมาชิกสภา อบต. ตำบลละ 24 คน
--------------------------------------------------------------------------------
27. ข้อใดเป็นคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต.
1. มีชื่อในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรในหมู่บ้านของตำบลที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าหนึ่งปีนับจนถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
2. สัญชาติไทยโดยการเกิด
3. มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบห้าปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
28. ตามกฎหมายระบุให้นายก อบต. จะต้องจัดทำรายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อสภา อบต. อย่างไร
1. เป็นประจำทุกปี
2. ปีละ 2 ครั้ง
3. ทุกรอบ 4 เดือน *
4. ทุกรอบ 2 ปี
--------------------------------------------------------------------------------
29. ผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจให้ความเห็นชอบกรณีที่ อบต. ทำกิจการนอกเขตสภา อบต. หรือกรณีร่วมกับสภาตำบล อบต. หรืออบจ. หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่นเพื่อทำกิจการร่วมกันได้
1. สภา อบต.
2. นายก อบต. โดยมติสภา *
3. นายอำเภอ
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
30. บุคคลใดเป็นประธานสภาตำบล
1. กำนัน*
2. ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการคัดเลือก
3. สมาชิกสภาตำบลที่ได้รับคัดเลือก
4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
--------------------------------------------------------------------------------
31. นอกจากสมัยประชุมสามัญแล้ว เมื่อเห็นว่าเป็นการจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ อบต. บุคคลใดสามารถทำคำร้องขอให้เปิดประชุมสมัยวิสามัญได้
1. ประธานสภา อบต.
2. นายก อบต.
3. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่ต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภา อบต. เท่าที่มีอยู่
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
32. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่น้อยกว่ากี่คน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปในการประชุมสภา อบต. เพื่อให้นายก อบต. แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาเกี่ยวกับการบริหาร อบต. โดยไม่มีการลงมติ
1. หนึ่งในสอง
2. หนึ่งในสาม *
3. สามในสี่
4. สองในสาม
--------------------------------------------------------------------------------
33. หากปรากฎว่านายก อบต. รองนายก อบต. ประธานสภา อบต. หรือรองประธานสภา อบต. กระทำการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติไม่ชอบด้วยอำนาจหน้าที่ บุคคลใดดำเนินการสอบสวนได้
1. นายอำเภอ*
2. ผู้วาราชการจังหวัด
3. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
4. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
--------------------------------------------------------------------------------
34. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสภาตำบล
1. มีฐานะเป็นนิติบุคคล เป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
2. สมาชิกสภาตำบลทุกคนมาจากการเลือกตั้ง
3. มีฐานะเป็นนิติบุคคล*
4. สมาชิกสภาตำบลมีหมู่บ้านละ 2 คน
--------------------------------------------------------------------------------
35. กรณีที่สภา อบต. ไม่รับหลักการร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่เสนอจะต้องดำเนินการอย่างไร
1. นายก อบต.ต้องพ้นจากตำแหน่ง
2. นายก อบต. แต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาหาข้อยุติความขัดแย้ง โดยการแก้ไขปรับปรุงในข้อบัญญัตินั้น
3. นายอำเภอประกาศยุบสภาให้มีการเลือกตั้งใหม่
4. นายอำเภอแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาหาข้อยุติความขัดแย้ง โดยการแก้ไขปรับปรุงในข้อบัญญัตินั้น*
--------------------------------------------------------------------------------
36. บุคคลใดเป็นผู้แต่งตั้งและถอดถอนเลขานุการสภาตำบล
1. ประธานสภาตำบล
2. สภาตำบล
3. นายอำเภอตามมติของสภาตำบล*
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
37. ข้อใดต่อไปนี้ คือคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายก อบต.
1. มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
2. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกรัฐสภา
3. ไม่เป็นผู้มีพฤติกรรมในทางทุจริต หรือพ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาตำบล สมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น หรือเลขานุการหรือที่ปรึกษาของผู้บริหารท้องถิ่น เพราะเหตุที่มีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทำกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันรับสมัครเลือกตั้ง
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
38. บุคคลผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต. ต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขต อบต. ติดต่อกันเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าเท่าใด นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
1. สามเดือนจนถึงวันเลือกตั้ง
2. หกเดือนจนถึงวันเลือกตั้ง
3. หนึ่งปีจนถึงวันเลือกตั้ง*
4. ไม่มีข้อใดถูก
--------------------------------------------------------------------------------
39. ข้อใดมิได้เป็นเงินรายได้ของ อบต.
1. เงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
2. รายได้จากทรัพย์สินของ อบต.
3. เงินค่าธรรมเนียมที่เก็บจากผู้มาพักโรงแรม*
4. เงินค่าบริการน้ำประปาแก่ประชาชน
-------------------------------------------------------------------------------
40. นอกจากสมัยประชุมสามัญแล้ว เมื่อเห็นว่าเป็นการจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่ อบต. บุคคลใดสามารถทำคำร้องขอให้เปิดประชุมสมัยวิสามัญได้
1. ประธานสภา อบต.
2. นายก อบต.
3. สมาชิกสภา อบต. จำนวนไม่ต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภา อบต. เท่าที่มีอยู่
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
41. ผู้อนุญาตให้ อบต. กู้เงินจากกระทรวง ทบวง กรม องค์การหรือนิติบุคคลต่างๆ ได้ คือ
1. นายก อบต.
2. สภา อบต. *
3. นายอำเภอ
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
42. ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบล ที่มีการกำหนดค่าธรรมเนียมเรียกเก็บได้ จะกำหนดโทษปรับสำหรับผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามข้อบัญญัติได้ไม่เกินกี่บาท
1. 500 บาท
2. ไม่เกิน 500 บาท
3. 1,000 บาท
4. ไม่เกิน 1,000 บาท*
--------------------------------------------------------------------------------
43. การบริหารงานในรูปแบบ อบต. นายก อบต. อาจแต่งตั้งรองนายก อบต. ได้ไม่เกินกี่คน
1. 1 คน
2. 2 คน *
3. 3 คน
4. 4 คน
--------------------------------------------------------------------------------
44. บุคคลใดมีหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของ อบต. ตามกฎหมายนี้
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด
3. นายอำเภอ *
4. นายก อบต.
5. ประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
45. พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด และมีผลบังคับใช้เมื่อไหร่
1. 2 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 2 พฤษภาคม 2546
2. 22 กุมภาพันธ์ 2546 มีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2546
3. 2 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 3 ธันวาคม 2546
4. 22 ธันวาคม 2546 มีผลบังคับใช้ 23 ธันวาคม 2546*
--------------------------------------------------------------------------------
46. บุคคลใดเป็นเลขานุการสภาตำบล
1. กำนัน
2 .ผู้ใหญ่บ้านที่ได้รับการคัดเลือก
3.สมาชิกสภาตำบลที่ได้รับคัดเลือก
4.ข้าราชการที่ปฏิบัติงานในตำบลนั้นหรือบุคคลอื่นที่มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายกำหนด*
--------------------------------------------------------------------------------
47. บุคคลใดเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตำบลและลูกจ้าง อบต.
1. นายก อบต. *
2. ประธานสภา อบต.
3. ปลัด อบต.
4. รองนายก อบต.
------------------------------------------------------------------------------
48. การกำหนดสมัยประชุมสามัญประจำปี ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. ให้ทำเป็นคำสั่งองค์การบริหารส่วนตำบล
2. ให้ทำเป็นประกาศองค์การบริหารส่วนตำบล*
3. ให้ทำเป็นข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตำบล
4. ให้ทำเป็นข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล
--------------------------------------------------------------------------------
49. ในกรณีที่สมาชิกสภา อบต. พ้นจากตำแหน่งเพราะครบวาระ จะต้องจัดให้มีการเลือกตั้งขึ้นใหม่ภายในระยะเวลากี่วันนับแต่วันที่ครบวาระ
1. 15 วัน
2. 30 วัน
3. 45 วัน *
4. 60 วัน
--------------------------------------------------------------------------------
50. การประชุมสภา อบต. ครั้งแรก ต้องกำหนดให้สมาชิกได้มาประชุมภายในระยะเวลาใด นับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้ง
1. 45 วัน
2. 30 วัน
3. 25 วัน
4. 15 วัน*
--------------------------------------------------------------------------------
51. ข้อบัญญัติขององค์การบริหารส่วนตำบล ที่มีการกำหนดค่าธรรมเนียมเรียกเก็บได้ จะกำหนดโทษปรับสำหรับผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามข้อบัญญัติได้ไม่เกินกี่บาท
1. 500 บาท
2. ไม่เกิน 500 บาท
3. 1,000 บาท
4. ไม่เกิน 1,000 บาท*
--------------------------------------------------------------------------------
52. องค์การบริหารส่วนตำบลจัดเป็นราชการบริหารส่วนใด
1. ส่วนกลาง
2. ส่วนภูมิภาค
3. ส่วนท้องถิ่น *
4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
--------------------------------------------------------------------------------
53. บุคคลใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537
1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย*
2. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
3. ผู้ว่าราชการจังหวัด
4. นายกรัฐมนตรี
--------------------------------------------------------------------------------
54. บุคคลผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา อบต. ต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขต อบต. ติดต่อกันเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าเท่าใด นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
1. สามเดือนจนถึงวันเลือกตั้ง
2. หกเดือนจนถึงวันเลือกตั้ง
3. หนึ่งปีจนถึงวันเลือกตั้ง*
4. ไม่มีข้อใดถูก
--------------------------------------------------------------------------------
55. การกำหนดสมัยประชุมสามัญประจำปี ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. ให้ทำเป็นคำสั่งองค์การบริหารส่วนตำบล
2. ให้ทำเป็นประกาศองค์การบริหารส่วนตำบล*
3. ให้ทำเป็นข้อบังคับองค์การบริหารส่วนตำบล
4. ให้ทำเป็นข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล
-------------------------------------------------------------------------------
56. บุคคลใดเป็นผู้ประกาศเรียกประชุมสภาสมัยวิสามัญ
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. นายอำเภอ *
3. นายก อบต.
4. ประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
57. ข้อใดเป็นประเภทรายจ่ายของ อบต.ตามกฎหมาย
1. เดือนและค่าจ้างประจำ
2. ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ
3. ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
4. ถูกทุกข้อ*
--------------------------------------------------------------------------------
58. พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษาเมื่อใด และมีผลบังคับใช้เมื่อใด
1. 2 กุมภาพันธ์ 2537 มีผลบังคับใช้ 2 พฤษภาคม 2537
2. 2 มีนาคม 2537 มีผลบังคับใช้ 2 มีนาคม 2537
3. 2 พฤศจิกายน 2537 มีผลบังคับใช้ 2 พฤศจิกายน 2537
4. 2 ธันวาคม 2537 มีผลบังคับใช้ 2 มีนาคม 2538*
--------------------------------------------------------------------------------
59. ในกรณีที่ยังไม่มีประธานสภา อบต. หรือประธานสภา อบต. ไม่เรียกประชุมตามกฎหมาย บุคคลใดเป็นผู้เรียกและเป็นผู้เปิดหรือปิดการประชุม
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด
2. นายอำเภอ *
3. นายก อบต.
4. ประธานสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
60. บุคคลใดเป็นผู้แต่งตั้งและถอดถอนเลขานุการสภาตำบล
1. ประธานสภาตำบล
2. สภาตำบล
3. นายอำเภอตามมติของสภาตำบล*
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
61. ในกรณีที่สภา อบต. ส่งร่างข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีของ อบต. ให้นายอำเภออนุมัติ แต่ปรากฏล่วงเลยมา 20 วัน แล้วยัง1ไม่มีคำตอบ จากนายอำเภอ ข้อบัญญัติดังกล่าวจะมีผลอย่างไร
1. ให้ถือว่านายอำเภออนุมัติร่างข้อบัญญัติดังกล่าว*
2. สภา อบต. ทวงถามขอส่งร่างข้อบัญญัตินั้นคืนมาให้สภาทบทวน
3. ร่างข้อบัญญัตินั้นเป็นอันตกไป
4. สภา อบต. นำร่างข้อบัญญัตินั้นมาทบทวนถ้ายืนยันตามร่างเดิมด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของสมาชิกสภา อบต. เท่าที่มีอยู่ให้ส่งให้นายก อบต.ประกาศใช้ข้อบัญญัตินั้นได้เลย
--------------------------------------------------------------------------------
62. กรณีใดดังต่อไปนี้ ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการพ้นจากตำแหน่งของนายก อบต.
1. ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อนายอำเภอ
2. ถูกคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
3. ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง เพราะกระทำการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน
4. นายอำเภอสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง เพราะละเลยไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยกฎหมาย*
--------------------------------------------------------------------------------
63. ในเขต อบต. ที่มีจำนวนเพียง 1 หมู่บ้าน ให้มีสมาชิกสภา อบต. ได้กี่คน
1. 4 คน
2. 6 คน *
3. 8 คน
4. 10 คน
--------------------------------------------------------------------------------
64. ข้อใดเป็นรายได้ที่ อบต.จัดเก็บเอง
1. ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย อากรฆ่าสัตว์และค่าธรรมเนียมรวมถึงผลประโยชน์อื่นอันเกิดจากการฆ่าสัตว์*
2. ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน ภาษีธุรกิจเฉพาะ
3. ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน
4. ภาษีมูลค่าเพิ่ม
--------------------------------------------------------------------------------
65. ผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจให้ความเห็นชอบกรณีที่ อบต. ทำกิจการนอกเขตสภา อบต. หรือกรณีร่วมกับสภาตำบล อบต. หรืออบจ. หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่นเพื่อทำกิจการร่วมกันได้
1. สภา อบต.
2. นายก อบต. โดยมติสภา *
3. นายอำเภอ
4. ผู้ว่าราชการจังหวัด
--------------------------------------------------------------------------------
66. ในกรณีตำแหน่งประธานสภา อบต. ว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกครบวาระให้เลือกตั้งประธานสภา อบต. ขึ้นแทนภายในกี่วัน นับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่าง
1. 15 วัน *
2. 30 วัน
3. 45 วัน
4. 60 วัน
--------------------------------------------------------------------------------
67. หากปรากฎว่านายก อบต. รองนายก อบต. ประธานสภา อบต. หรือรองประธานสภา อบต. กระทำการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือละเลยไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติไม่ชอบด้วยอำนาจหน้าที่ บุคคลใดดำเนินการสอบสวนได้
1. นายอำเภอ*
2. ผู้วาราชการจังหวัด
3. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
4. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
--------------------------------------------------------------------------------
68. นายก อบต. มีที่มา ตามข้อใด
1. มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน*
2. มาจากการแต่งตั้งของนายอำเภอ
3. มาจากการเลือกตั้งโดยอ้อมของสมาชิกสภา อบต.
4. มาจากการแต่งตั้งโดยตรงของสมาชิกสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
69. ในเขต อบต. บุคคลใดมีอำนาจเปรียบเทียบปรับคดีละเมิดข้อบัญญัติ
1. ประธานสภา อบต.
2. สมาชิกสภา อบต.
3. นายก อบต. *
4. เลขานุการสภา อบต.
--------------------------------------------------------------------------------
70. กรณีใดดังต่อไปนี้ ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการพ้นจากตำแหน่งของนายก อบต.
1. ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อนายอำเภอ
2. ถูกคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
3. ผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง เพราะกระทำการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน
4. นายอำเภอสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง เพราะละเลยไม่ปฏิบัติตามหรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยกฎหมาย*
--------------------------------------------------------------------------------
71. การประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบล มีกี่ประเภท
1. 1 ประเภท
2. 2 ประเภท *
3. 3 ประเภท
4. 4 ประเภท
--------------------------------------------------------------------------------
72. ข้อต่อไปนี้ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ให้กระทรวงมหาดไทยดำเนินการประกาศยุบสภาตำบลทั้งหมดและ อบต. ใดที่มีจำนวนประชากรไม่ถึงสองพันคน โดยให้รวมพื้นที่เข้ากับ อบต. หรือหน่วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่มีเขตติดต่อกันภายในเขตอำเภอเดียวกันภายในเก้าสิบวันนับแต่ที่มีเหตุดังกล่าว
2. อบต. มีจำนวนประชากรทั้งหมดไม่ถึง 1,500 คน ให้กระทรวงมหาดไทยประกาศยุบรวมได้ทันที*
3. อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
4. อาจจัดตั้ง อบต. ขึ้นเป็นเทศบาลได้
**************************แถบนิดหนึ่งรู้ไว้ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม***********************************
ตัวอย่างแนวข้อสอบปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
1.ใครเป็นเจ้าหน้าที่งบประมาณขององค์การบริหารส่วนตำบล
ก.เจ้าหน้าที่การเงินของ อบต. ข.หัวหน้ากองคลังของ อบต.
ค.ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล*** ง.นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
2.งบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์การบริหารส่วนตำบลแบ่งออกได้ตามข้อใด
ก.งบประมาณรายจ่ายทั่วไปและงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ***
ข.งบประมาณรายจ่ายทั่วไปและงบประมาณรายจ่ายเฉพาะกิจ
ค.งบประมาณรายจ่ายทั่วไปและงบประมาณรายจ่ายพัฒนา
ง.งบประมาณรายจ่ายทั่วไปและงบประมาณรายจ่ายประจำ
****ถ้าเงินอุดหนุนมี 2 อย่าง คือ เงินอุดหนุนทั่วไป กับเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
3.ผู้ใดมีอำนาจอนุมัติงบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนตำบล
ก.สภา อบต. ข.นายก อบต.
ค.นายอำเภอ*** ง.ผู้ว่าราชการจังหวัด
4.ผู้บริหารท้องถิ่นนำงบประมาณรายรับและรายจ่ายเสนอต่อสภาภายในวันใด
ก. 15 กรกฎาคม
ข. 30 กรกฎาคม
ค. 15 สิงหาคม ***
ง. 30 สิงหาคม
5.ใครมีหน้าที่ควบคุมงบประมาณรายจ่ายและเงินนอกงบประมาณ
ก.นายก อบต. ข.ปลัด อบต.
ค.หัวหน้าหน่วยงานคลัง ง.นายก อบต. และปลัด อบต.***
6.ใครเป็นผู้รักษาการตาม พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ.2545
ก.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ข.อธิบดีกรมการปกครอง
ค.อธิบดีกรมส่งเสิรมการปกครองส่วนท้องถิ่น
ง.ประธานกรรมการการเลือกตั้ง***
7.ก่อนการเลือกตั้งสมาชิกสภา อบต. ให้ผู้อำนวยการการเลือกตั้งท้องถิ่นแต่งตั้งผู้มีคุณสมบัติตามกฎหมายเป็น
คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งอย่างน้อยกี่คน
ก. 7 คน*** ข. 5 คน
ค. 3 คน ง. 2 คน
8. การย้ายทะเบียนบ้านเพื่อใช้สิทธิ์เลือกตั้งโดยมิชอบีอยู่กรณีหนึ่งคือการ ย้ายบุคคลตั้งแต่กี่คนขึ้นไปที่ไม่ใช่นามสกุลเดียวกันกับเจ้าบ้าน ภายใน 2 ปี เพื่อให้มีสิทธิเลือกตั้ง
ก. 6 คน ข. 10 คน***
ค. 10 คน ง. 12 คน
9.การประชุมสภา อบต. ครั้งหนึ่ง ๆ กำหนดเวลาตอบกระทู้ถามไม่เกินกี่ชั่วโมง
ก.4 ชม. ข. 3 ชม.
ค.2 ชม. ง. 1 ชม.***
10. ในกรณีที่เจ้าหน้าที่เป็นผู้กระทำละเมิดต่อหน่วยงานรัฐไม่ว่าจะเป็นหน่วยงาน ของรัฐที่ผู้นั้นอยู่ในสังกัดหรือไม่ ผู้เสียหายมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่โดยจำกัดอายุความอย่าง ไร
ก. 2 ปีนับตั้งแต่วันที่หน่วยงานของรัฐรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่***
ข. 1 ปีนับตั้งแต่วันที่หน่วยงานของรัฐรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่
ค. 6 ปีนับตั้งแต่วันที่หน่วยงานของรัฐรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่
ง. 1 ปีนับตั้งแต่วันที่หน่วยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง
11.ผู้ใดมีอำนาจแต่งตั้งผู้เก็บรักษาเงินขององค์การบริหารส่วนตำบล
ก.ผู้ว่าราชการจังหวัด ข.นายอำเภอ
ค.นายก อบต. *** ง. ปลัด อบต.
12.เงินที่เบิกถ้าไม่จ่ายหรือจ่ายไม่หมดให้ส่งคืนหน่วยงานคลังภายในกี่วันนับแต่แต่ขอเบิก
ก.7 วัน ข.15 วัน***
ค.30 วัน ง. 45 วัน
13. การจ่ายเงินในข้อใดผู้จ่ายทำเป็นใบรับรองการจ่ายโดยไม่ต้องทำบันทึกซื้อของ
ก. การจ่ายเงินครั้งหนึ่ง ๆ ไม่เกิน 10 บาท
ข.การจ่ายค่าโดยสารรถไฟ
ค.การจ่ายค่ารถ
ง.ถูกทุกข้อ***
14. ผู้ยืมต้องส่งใบสำคัญรับเงินและเงินเหลือจ่ายการยืมไปราชการตามข้อใด
ก. ภายใน 15 วันนับจากกลับมาถึง***
ข. ภายใน 30 วันนับจากกลับมาถึง
ค. ภายใน 15 วันนับจากวันรับเงิน ง. ภายใน 30 วันนับจากวันรับเงิน
15. ใครมีหน้าที่ควบคุมหรือจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น
ก. นายอำเภอ ข. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ค.กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย
ง. คณะกรรมการการเลือกตั้ง***
16. สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลครบวาระต้องเลือกตั้งใหม่ภายในกี่วัน
ก. 30 วัน ข. 45 วัน*** ค. 60 วัน ง. 90 วัน
17. บุคคลในข้อใดมีสิทธิคัดค้านหากเห็นว่าการเลือกตั้งเป็นไปโดยทุจริต
ก. ผู้สมัคร ข. นายอำเภอ ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด ง. ถูกทุกข้อ***
18. วิธีแจ้งเหตุที่ไม่อาจไปใช้สิทธิเลือกตั้งต้องแจ้งให้นายทะเบียนทราบก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่ากี่วัน
ก. 7 วัน*** ข. 10 วัน ค. 15 วัน ง. 20 วัน
**ถ้าหลังการเลือกตั้ง 7 วัน***เหมือนกัน
19. ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิยื่นคำร้องคัดค้านการเลือกตั้งต้องมีจำนวนเท่าใด
ก. ไม่น้อยกว่า 10 คน***
ข. ไม่น้อยกว่า 20 คน
ค. ไม่น้อยกว่า 30 คน
ง. ไม่น้อยกว่า 50 คน
20. การเข้าชื่อเพื่อลงคะแนนถอดถอนสมาชกกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลร้องของต่อใคร
ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด*** ข. อธิบดีกรมปกครอง
ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
21. สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นจะต้องจัดคำชี้แจงข้อเท็จจริงแก้ข้อกล่าวหาภายในกี่วันนับแต่ได้รับคำร้อง
ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน*** ง. 45 วัน
**********************************ขอให้โชคดีน่ะครับ*******************************************
การอ่านหนังสือที่ฉานฉลาด ไม่ต้องเชื่อในสิ่งที่เห็น (เฉลย) บางครั้งเฉลยอาจผิดพลาด คำตอบที่เชื่อได้ที่สุด คือ ตัวบทกฎหมาย
****นั่นแหละจะประสบความสำเร็จทุกครั้งในการสอบ****
|
|
ประพันธ์ เวารัมย์ [101.51.53.xxx] เมื่อ 14/01/2017 13:57
|