สถิติ
เปิดเมื่อ21/09/2014
อัพเดท11/07/2015
ผู้เข้าชม1714668
แสดงหน้า2189607
บทความ
ประวัติ นายประพันธ์ เวารัมย์ (เจ้าของเว็บไซต์)
ประวัตินายประพันธ์ เวารัมย์ เจ้าของเว็บไซต์ แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้า
รู้จัก ด.ช.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผ่านนิตยสารชัยพฤกษ์ ปี 2512
รู้จัก ด.ช.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผ่านนิตยสารชัยพฤกษ์ ปี 2512
เปิดประวัติ พล.อประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 29
เปิดประวัติ พล.อประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 29
ข้อมูลเตรียมสอบปลัดอำเภอ
้ข้อมูลเตรียมสอบปลัด 2
แนวข้อสอบปลัดอำเภอ
คู่มือการดูแลรักษาและคุ้มครองที่สาธารณประโยชน์
เจ้าของเว็บไซต์
โครงสร้างเตรียมสอบปลัดอำเภอ ข้อสอบที่เคยออกปี 2548 และปี 51-55 (สำหรับผู้ใฝ่ฝัน เป็นปลัดอำเภอ)
เตรียมสอบปลัดอำเภอ
ตู้หนังสือ แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้า
คู่มือปฏิบัติงานกองอาสารักษาดินแดน
วันสถาปนากองอาสารักษาดินแดน
​หนังสือคู่มือการทะเบียนราษฎร
เตรียมสอบปลัดอำเภอ
หนังสือสั่งการต่างๆ เกี่ยวกับท้องถิ่น
ท้องถิ่นกำลังจะแก้ไขหลักเกณฑ์การสอบใหม่
เรื่องทั่้วไป
เว็บไซต์กระทรวงต่างๆ 20 กระทรวง
แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้า
ยังจำท่านได้ดี ท่านสิริรัฐ (สถาพร) ชุมอุปการ (นายอำเภอประโคนชัย ปี 2547)
สวัสดีวันพุธ ที่ 24 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557 ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11
เอกสารเตรียมสอบปลัดอำเภอ เนื้อหาเกี่ยวกับนโยบายรัฐบาล
เอกสารเตรียมสอบปลัดอำเภอ (ชุดที่ 2)
เอกสารเตรียมสอบปลัดอำเภอ (ชุดที่ 1)
หนังสือปฏิบัติงานกรมการปกครอง
คู่มือการปฏิบัติหน้าที่ของกรมการปกครอง ของปลัดอำเภอ
รวมกฎหมายปกครองที่เล่ม 5
รวมกฎหมายปกครองที่เล่ม 4
รวมกฎหมายปกครองเล่ม 3
รวมกฎหมายปกครอง เล่ม 1
รวมกฎหมายปกครอง เล่ม 2
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   




แนวข้อสอบปลัดอำเภอ (แนวข้อสอบเก่า)

แนวข้อสอบปลัดอำเภอ (แนวข้อสอบเก่า)
อ้างอิง อ่าน 671 ครั้ง / ตอบ 0 ครั้ง

ประพันธ์ เวารัมย์
แนวข้อสอบปลัดอำเภอ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวคำถาม-คำตอบที่สำคัญ

1. บัตรประจำตัวประชาชน มีอายุใช้ดังนี้ 
ก. 7 ปี นับแต่วันทำบัตร 
ข.6 ปี นับแต่วันทำบัตร
ค. 6 ปี นับแต่วันครบวันเกิดของผู้ถือบัตร 
ง. 6 ปี นับแต่วันออกบัตร
จ. ไม่มีข้อใดถูก

2. ช่วงอายุของบุคคลที่ต้องทำบัตรประจำตัวประชาชน
ก. 15 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 65 ปีบริบูรณ์ 
ข. 17 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์
ค. 6 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์ 
ง. 6 ปี นับแต่วันออกบัตร
จ. ไม่มีข้อใดถูก

3. ประชาชนที่มีอยู่ในทะเบียนบ้าน ของสำนักงานทะเบียนท้องถิ่น เทศบาลต้องไปติดต่อขอทำบัตรประจำตัว ประชาชนที่ไหน
ก. สำนักงานเทศบาล 
ข. ที่ว่าการอำเภอ/กิ่งอำเภอ ที่เทศบาลตังอยู่
ค. ศาลากลางจังหวัดที่เทศบาลตั้งอยู่ 
ง. ผิดทั้ง 3 ข้อ

4. ข้าราชการต่อไปนี้ ใครมีอำนาจตรวจบัตรประชาชน
ก. นายอำเภอ ปลัดอำเภอ ผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ
ข. นายทะเบียนอำเภอ ผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ นายทะเบียนตำบล
ค. นายอำเภอ ปลัดอำเภอ นายตำรวจสัญญาบัตร
ง. นายตำรวจสัญญาบัตร นายตำรวจชั้นประทวน นายทะเบียนอำเภอ

5. น.ส.แอนนา ลูกครึ่งไทยอเมริกัน ถูกลักพาตัวหายไปในขณะกลับจากโรงเรียน อีก 3 วันต่อมาพบว่า ถูกฆาตกรรมถึงแก่ความตาย ได้พบศพที่ป่าแสม เขตจังหวัดสมุทรปราการ ผู้มีหน้าที่ต้องการแจ้งการตายต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งคนแรก คือใคร
ก. ตำรวจท้องที่ 
ข. ผู้ใหญ่บ้านท้องที่
ค. ญาติผู้ตาย 
ง. นาย ก. เพราะเป็นผู้พบศพคนแรก

6. นายทะเบียนจะรับแจ้งย้ายที่อยู่ได้เฉพาะบุคคลที่
ก. บุคคลซึ่งมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน 
ข. บุคคลซึ่งมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านกลาง
ค. ใครก็ได้ที่นายทะเบียนสอบถามและเชื่อถือ 
ง. ข้อ ก. และข้อ ข. ถูก

7. บุคคลจะได้สัญชาติไทยโดย
ก. การเกิด 
ข. หญิงต่างด้าวถือสัญชาติไทยตามสามี
ค. คนต่างด้าวขอแปลงสัญชาติเป็นไทย 
ง. ถูกทุกข้อ

8. เกณฑ์การรับบุตรบุญธรรมตามกฎหมายเป็นดังนี้
ก. ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ และมีอายุมากกว่าบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี
ข. ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปี และมีอายุมากกว่าบุตรบุญธรรม 20 ปี
ค. ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปี และมีอายุมากกว่าบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี
ง. ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ และบุตรบุญธรรมต้องมีอายุไม่เกิน 15 ปี

9. ความเป็นกลางทางการเมือง (Political Neutrality) ของข้าราชการหมายถึง
ก. ข้าราชการไม่เป็นสมาชิกพรรคการเมือง
ข. ข้าราชการการเมืองไม่มีอำนาจเหนือข้าราชการประจำ
ค. ข้าราชการไม่ผูกพันกับพรรคการเมืองที่เข้ามาเป็นรัฐบาลหรือไม่ตกอยู่ใต้อิทธิพลของนักการเมืองหรือพรรคการเมืองใดๆ 
ง. ข้าราชการไม่หาเสียงหรือช่วยเหลือการเลือกตั้งของบุคคลหรือพรรคการเมืองใดๆ

10. ในการประชุมร่วมกันเพื่อพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การใช้ภาวะผู้นำ (Leadership) ในการประชุมนั้น ควรเป็นหน้าที่ของผู้ใด
ก. ประธานการประชุม 
ข. สมาชิกอาวุโสที่สุด
ค. สมาชิกที่พูดเก่งที่สุด 
ง. สมาชิกคนใดก็ได้ 

11. ผู้บริหารระดับกลางจักต้องบริหารงานโดยถือข้อใดเป็นหลักสำคัญ
ก. เป้าหมายขององค์การ 
ข. เป้าหมายส่วนตัวของสมาชิกในองค์การ
ค. เป้าหมายส่วนตัวของผู้บริหารสุงสุด 
ง. เป้าหมายส่วนตัวของตนเอง

12. การพัฒนาการบริหาร (Management Development) มุ่ง
ก. พัฒนาองค์การ 
ข. พัฒนาบุคคล
ค. พัฒนาระบบ 
ง. พัฒนาเทคโนโลยี

13. การจัดแบ่งงานแบบ Line และ Staff มีลักษณะใด
ก. หน่วยงาน Staff เป็นผู้บังคับบัญชาของหน่วยงาน Line
ข. หน่วยงานLine เป็นผู้บังคับบัญชาของหน่วยงาน Staff
ค. หน่วยงาน Staff ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกแก่หน่วยงาน Line
ง. หน่วยงาน Line ให้คำปรึกษาและอำนวยความสะดวกแก่หน่วยงาน Staff

14. หน้าที่สำคัญ 7 ประการของนักบริหาร ซึ่งอักษรข้างหน้าคำนำมาผูกเป็น POSDCORD นั้นใครเป็นผู้กำหนดขึ้น

ก. Henry L. Gantt ข. Gerbert A. Simon

ค. Luther Gulick ง. Leonard D. White

15. การวางแผน หมายถึง

ก. การกำหนดวิธีการดำเนินงาน

ข. การตัดสินใจโดยพิจารณาจากข้อมูล และเอกสารและกรณีแวดล้อมต่างๆ

ค. การกำหนดวัตถุประสงค์

ง. ถูกทั้ง 3 ข้อ

ตอบ 

16. ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่า เป็นบิดาของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คือใคร

ก. Luther Gulick ข. Woodror ffice:smarttags' />Wilson

ค. Henri Eayol ง. Elton Mayo

ตอบ 

17. องค์การเคลื่อนไหว (Dynamic) มากที่สุดจาก

ก. การจัดการ ข. การติดต่อสื่อสาร

ค. การสั่งการ ง. การส่งข้อมูลย้อนหลัง 

จ. บุคคล

ตอบ 

18. การพิจารณาถึงการควบคุมบังคับบัญชาที่รวมอยู่ที่บุคคลใด หรือกลุ่มบุคคลโดยเด็ดขาดหรือไม่นั้นเกี่ยวข้องกับ

ก. การบังคับบัญชาลดหลั่นกัน (Hierarchy)

ข. สายการบังคับบัญชา (Chin of Command)

ค. ช่วงการบังคับบัญชา (Span of Command)

ง. เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command)

จ. ความรับผิดชอบ (Responsibility)

ตอบ 

19. ที่มาของ “ข้าราชการ คือ ผู้ที่ทำงานให้ประชาชนชื่นใจ” คือ

ก. พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ข. ท่านพุทธทาสภิกขุ

ค. ปัญญานันทภิกขุ ง. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์

จ. พ.อ.จินดา ณ สงขลา (อดีตเลขาธิการ ก.พ.)

ตอบ 

20. ความสัมพันธ์ระหว่างนายอำเภอกับปลัดอำเภอ เจ้าหน้าที่ปกครองต่างๆ ตามลำดับชั้นหมายถึง

ก. ช่วงการควบคุม ข. สายการบังคับบัญชา

ค. การแบ่งงานกันทำ ง. การจัดองค์การ

จ. เอกภาพในการบริหาร

ตอบ 

21. สำนัก/กองใดทำหน้าที่เป็นหน่วยงานหลัก Line ของกรมการปกครอง

ก. สำนักบริหารการปกครองท้องที่ ข. สำนักบริหารการทะเบียน

ค. สำนักกิจการความมั่นคงภายใน ง. สำนักอำนวยการกองอาสารักษาดินแดน

จ. ถูกทุกข้อ

ตอบ 

22. ท่านเข้าใจว่า สำนนัก/กองใดต่อไปนี้เป็นหน่วยงานช่วย (Auxiliary)

ก. สำนักกบริหารการทะเบียน ข. สำนักบริหารการปกครองท้องที่

ค. สำนักกิจการความมั่นคงภายใน ง. สำนักอำนวยการกองอาสารักษาดินแดน

จ. ข้อ ก. และข้อ ข. ถูก

ตอบ 

23. การบริการประชาชนให้รวดเร็วที่เรียกว่า One-Stop Service หมายถึง

ก. บริการทีเดียวเสร็จ ข. บริการที่เดียวเสร็จ

ค. บริการที่หยุดเพียงครั้งเดียว ง. บริการครั้งหนึ่งแล้วหยุดครั้งหนึ่ง

จ. บริการแบบครบวงจร

ตอบ 

24. “รักษาราชการแทน” กับ “รักษาในการตำแหน่ง” มีความแตกต่างกันมากที่สุดเรื่องใด

ก. ผลของความรับผิดชอบ ข. วิธีการตั้งตัวบุคคล

ค. กฎหมายคนละฉบับ ง. ข้อ ก. และข้อ ข.

จ. ข้อ ข. และ ข้อ ค.

ตอบ 

25. การทำบัตรประจำตัวประชาชนตามโครงการเลขประจำตัวประชาชนเน้นวิธีการใดมากที่สุด

ก. การให้ความสะดวก ข. การดำเนินการด้วยความรวดเร็ว

ค. ลดความผิดพลาดเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติ ง. ดำเนินการด้วยระบบคอมพิวเตอร์

จ. เพื่อการพิสูจน์ตรวจสอบรายการบุคคล

ตอบ 

26. การแบ่งงานของที่ทำการปกครองอำเภอ ได้แก่

ก. ฝ่ายบริหารงานปกครอง ฝ่ายทะเบียนและบัตร

ข. ฝ่ายบริหารงาน ฝ่ายทะเบียนและบัตร ฝ่ายความมั่นคง

ค. ฝ่ายบริหารงาน ฝ่ายทะเบียนทั่วไป ฝ่ายความมั่นคงพิเศษ

ง. ฝ่ายปกครองและพัฒนา ฝ่ายทะเบียนราษฎร ฝ่ายทะเบียนทั่วไปและบัตร ฝ่ายกิจการพิเศษ

จ. ฝ่ายบริหารงานปกครอง ฝ่ายทะเบียนและบริการ ฝ่ายอำนวยความเป็นธรรม ฝ่ายความมั่นคง

ตอบ 

27. กรมการปกครองกำหนดราชการบริหารส่วนภูมิภาคไว้คือ

ก. ที่ทำการปกครองจังหวัด ที่ทำการปกครองอำเภอ

ข. ที่ทำการปกครองจังหวัด ที่ทำการปกครองอำเภอ ที่ทำการปกครองกิ่งอำเภอ

ค. ที่ทำการปกครองจังหวัด ที่ทำการปกครองอำเภอ ที่ทำการปกครองกิ่งอำเภอ ที่ทำการกำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน

ง. จังหวัด, อำเภอ

จ. ไม่มีข้อถูก

ตอบ 

28. การพัฒนาบุคลากรของกรมการปกครองเป็นหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงของ

ก. กองการเจ้าหน้าที่ ข. วิทยาลัยการปกครอง

ค. กองวิชาการและแผนงาน ง. สำนักกิจการความมั่นคงภายใน

จ. ไม่มีข้อใดถูก

ตอบ

29. การที่จะเป็นผู้รู้จักคน ท้องที่ ขนบธรรมเนียมประเพณี รู้ทุกข์รู้สุข รู้ความต้องการของประชาชน นักปกครอง ต้อง

ก. สอบถามผู้รู้ ข. อ่านหนังสือและตำราการปกครอง

ค. ฟังคนอื่นเล่าให้ฟัง ง. ให้ประชาชนมาพบ

จ. ออกเยี่ยมเยียนประชาชน

ตอบ 

30. หมอประจำตำบลหรือแพทย์ประจำตำบลในประเทศไทย เป็นแนวคิดของ

ก. สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ข. รัชกาลที่ 6

ค. จอมพล ป. พิบูลสงคราม ง. พระยาสุรสห์วสิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร)

จ. พระยาพหลพลพยุหเสนา

ตอบ 

31. มนุษย์ที่เกรงกลัวและละอายใจต่อการทำบาป เป็นผู้มีธรรมะในข้อ 

ก. ศีล 5 ข. หิริ - โอตตัปปะ

ค. ศีล 8 ง. ขันติ – โสรัจจะ

จ. สติสัมปชัญญะ 

ตอบ 

32. แนวทางการพัฒนาคุณภาพประชากร คือ

ก. ส่งเสริมให้ออกกำลังกาย ข. ลดละเลิกอบายมุข

ค. ให้งดสูบบุหรี่ ง. จัดให้มีที่พักผ่อนหย่อนใจ

จ. ให้การศึกษาและพัฒนาจิตใจ

ตอบ 

33. ผู้บริหารท้องถิ่นได้แก่

ก. ปลัดเทศบาล ข. รองปลัดเทศบาล

ค. นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ง. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล

จ. กำนันท้องที่

ตอบ 

34. ข้อใดเป็นความผิดโดยละเว้นการกระทำ

ก. เก็บของตกแล้วไม่นำส่งมอบเจ้าพนักงาน

ข. เห็นเด็กตกน้ำแล้วไม่ช่วย

ค. ฆ่าโคโดยไม่ได้รับอนุญาต

ง. เห็นเพลิงไหม้ไม่นำความแจ้งเจ้าหน้าที่ดับเพลิง

จ. พบการกระทำผิดซึ่งหน้าแล้วไม่ทำการจับกุม

ตอบ 

35. กระทำผิดแล้วกฎหมายไม่เอาโทษ ได้แก่กรณี

ก. ก. ยิง ข. แต่กระสุนด้าน

ข. ก. จ้องปืนยิง ข. ยังที่ ข. เคยนอน แต่บังเอิญ ข. ได้เข้าไปห้องน้ำเสียก่อน

ค. ก. เห็นพุ่มไม้ไหวคิดว่าเป็นเก้งใช้ปืนยิงถูก ข. นั่งเล่นข้างพุ่มไม้ 

ง. ก. จ้องปืนจะยิง ข. แต่คิดถึงลูกจึงลดปืนลงโดยจะมายิงใหม่วันหลัง

จ. ก. ยิง ข. โดยเชื่อว่า ข. คงกระพัน

ตอบ 

36. การตีความกฎหมายอาญา คือตีความ

ก. ตามเจตนารมณ์ ข. ให้มีการลงโทษหนักขึ้น

ค. เทียบเคียงหลักกฎหมายทั่วไป ง. เทียบเคียงตามประเพณีวัฒนธรรม

จ. ตามตัวอักษรโดยเคร่งครัด

ตอบ 

37. การใช้กฎหมายอาญามีหลัก

ก. ไม่มีผลย้อนหลัง ข. ย้อนหลังได้แต่ต้องมีบทลงโทษหนักขึ้น

ค. ย้อนหลังได้กรณีที่เป็นคุณ ง. ให้อยู่ในดุลยพินิจของศาลจะเลือกใช้

จ. ย้อนหลังได้ทุกกรณี

ตอบ

38. นายอำเภอสังกัด

ก. กรมการปกครอง ข. กระทรวงมหาดไทย

ค. สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. ข้อ ก. และข้อ ข.

จ. ถูกทุกข้อ

ตอบ

39. นิติบุคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ คือ

ก. วัด ข. กอง

ค. รัฐวิสาหกิจ ง. อำเภอ

จ. กิ่งอำเภอ

ตอบ

40. ส่วนราชการของที่ทำการปกครองจังหวัด ได้แก่

ก. ฝ่ายปกครอง ฝ่ายท้องถิ่น

ข. ฝ่ายการปกครอง ฝ่ายท้องถิ่น ฝ่ายกิจการพิเศษ

ค. ฝ่ายปกครอง ฝ่ายท้องถิ่น ฝ่ายการเงินและฝ่ายการบัญชี

ง. กลุ่มปกครองและอำนวยความเป็นธรรม ฝ่ายความมั่นคง ฝ่ายการงินและบัญชี

จ. ไม่มีข้อใดถูก

ตอบ

41. ข้อใดมิได้เป็นองค์ประกอบของรัฐ

ก. พลเมือง ข. ดินแดน

ค. อำนาจอธิปไตยและเอกราช ง. รัฐสภา

จ. รัฐบาล

ตอบ

42. บ้านตาม พ.ร.บ. ลักษณะปกครองท้องที่ หมายถึง

ก. โรงนา ข. โรงพยาบาล

ค. โรงทหาร ง. เรือนจำ

จ. เรือชำรุดที่จอดประจำที่

ตอบ

43. มนุษย์เริ่มมีสถานภาพบุคคลตั้งแต่

ก. ยังอยู่ในครรภ์มารดา ข. คลอดออกมาถึงแม้จะไม่หายใจ

ค. ส่งเสียงร้องหลังคลอด ง. คลอดออกมามีการหายใจ

จ. เริ่มปฏิสนธิ

ตอบ 

44. ข้อใดไม่เป็นราชอาณาจักรตามกฎหมายไทย

ก. ทะเลอันเป็นอ่าวไทย ข. พื้นดินในประเทศไทย

ค. ทะเลห่างจากฝั่งไทยเกิน 12 ไมล์ทะเล ง. เรือไทยในทะเลหลวง

จ. พื้นอากาศเหนือ ก. และ ข.

ตอบ 

45. ข้อใดที่ไม่เป็นกฎหมาย

ก. ประกาศคณะปฏิวัติ

ข. คำสั่งกรมการปกครอง

ค. ประกาศของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน

ง. ข้อบัญญัติจังหวัด

จ. ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล

ตอบ 

46. การปรับปรุงข้าราชการฝ่ายปกครองให้มีความสามารถในการเข้ารับราชการในตำแหน่งที่สูงขึ้นอยู่ในความรับผิดชอบโดยตรงของกองใด

ก. กองการเจ้าหน้าที่ ข. วิทยาลัยการปกครอง

ค. สำนักบริหารการทะเบียน ง. สำนักบริหารการปกครองท้องที่

จ. กองวิชาการและแผนงาน

ตอบ 

47. การเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดต้องทำเป็น

ก. ประกาศกระทรวงมหาดไทย ข. กฎกระทรวง

ค. พระราชกฤษฎีกา ง. พระราชกำหนด

จ. พระราชบัญญัติ

ตอบ 

48. การมอบอำนาจของอธิบดีให้รองอธิบดีเรียกว่า...........เช่นเดียวกับกรณีของผู้ว่าราชการจังหวัดที่มอบให้รองผู้ว่าราชการจังหวัด เรียกว่า

ก. รักษาราชการแทน......ปฏิบัติราชการแทน

ข. ปฏิบัติราชการแทน......รักษาราชการแทน

ค. ปฏิบัติราชการแทน......ทำการแทน

ง. ปฏิบัติราชการแทน.....รักษาราชการแทน

จ. รักษาราชการแทน......ทำการแทน

ตอบ 

49. กรมการปกครองยังมีนโยบายการรักษาความสงบเรียบร้อย และเสริมสร้างความมั่นคงภายในดังต่อไปนี้

ก. การเร่งรัดจัดทำทะเบียนชาวเขา

ข. การจัดตั้งปลัดอำเภอผูรับผิดชอบประจำตำบล

ค. การปรับปรุงงานทะเบียนราษฎร์

ง. ข้อ ก. และข้อ ข.

จ. ข้อ ก. และข้อ ค.

ตอบ 

50. การเปลี่ยนแปลงชื่อหมู่บ้าน ต้องทำเป็นประกาศของ

ก. นายอำเภอ ข. กระทรวงศึกษาธิการ

ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด ง. กรมการปกครอง

จ. กระทรวงมหาดไทย

ตอบ 

UID193 โพสแล้ว343 Digest0 Credits343 จิตพิศัย343 Money449999993 ระดับ150 เพศผู้หญิง ออนไลน์91 ชัวโมง สมัครสมาชิกเมื่อ11-3-2008 เข้าระบบล่าสุด15-7-2008 ข้อมูลส่วนตัว
อ้างอิง ตอบกลับโพสนี้ TOP 
------------------------------------------------*******************************************----------------
แนวข้อสอบปลัดอำเภอ ชุดที่ 1
แนวข้อสอบปลัดอำเภอ ปี51
ชุดที่1
1) การออกหนังสือรับรอง ต้องติดรูปถ่ายหรือไม่ตามระเบียบฯ
1. ต้องติดทุกครั้งตามเรียบ 2. ไม่จำเป็น
3. ในกรณีเป็นเรื่องสำคัญที่ออกให้บุคคลให้ติดรูปถ่ายด้วย 4. ให้อยู่ในดุลพินิจของเจ้าหน้าที่
5. แล้วแต่ความต้องการของผู้ช่วย
2) คำว่า ' งบประมาณเกินดุล ' หมายความว่าอย่างไร
1.ปริมาณเงินไหลเข้าประเทศมากกว่าไหลออก 2.มูลค่าสินค้าส่งออกมากกว่ามูลค่าสินค้าสินค้านำเข้า
3.รัฐบาลมีรายได้มากกว่ารายจ่าย 4.ประเทศมีรายได้มากกว่ารายจ่าย
5.รายรับของรัฐบาลมากกว่ารายจ่ายของรัฐบาล
3) คำว่า ' งบประมาณสมดุล ' หมายความว่าอย่างไร
1.ปริมาณเงินไหลเข้าประเทศมากกว่าไหลออก 2.มูลค่าสินค้าส่งออกมากกว่ามูลค่าสินค้าสินค้านำเข้า
3.รัฐบาลมีรายได้มากกว่ารายจ่าย 4.ประเทศมีรายได้มากกว่ารายจ่าย
5.รายรับของรัฐบาลมากกว่ารายจ่ายของรัฐบาล
4) ประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่มักขาดดุลการค้าเป็นเพราะสาเหตุใด
1.มีการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรมาก 2.มีความต้องการนำเข้าสินค้าทุนมาก
3.มีความต้องการสินค้าที่ผลิตภายในประเทศมาก 4.มีความต้องการบริโภคสินค้าและบริการมาก
5.ประชาชนส่วนใหญ่ดำรงชีพอย่างไม่ประหยัด
5) ปัจจัยสำคัญที่สุดในการช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนาได้แก่ 
1.การเพิ่มขึ้นของกำลังแรงงานทำให้อัตราค่าแรงในประเทศต่ำ
2.การนำกรรมวิธีในการผลิตใหม่ๆมาใช้ทำให้ต้นทุนการผลิตลดลง
3.การที่ประชาชนจ่ายเงินเพิ่มขึ้นเพื่อซื้อสินค้าและบริการทำให้อุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น
4.การนำเงินทุนจากต่างประเทศเข้ามามากทำให้อัตราดอกเบี้ยในประเทศลดลง 5.ไม่มีข้อใดถูก
6) ข้อใดกล่าวถึงความหมายในการพัฒนา เศรษฐกิจได้ดีที่สุด
1.รายได้ประชาชาติที่แท้จริงเพิ่มขึ้นพร้อมๆกับประชากรเพิ่มขึ้น
2.รายได้ประชาชาติต่อหัวสูงขึ้นพร้อมกับภาวะเงินเฟ้อมีอัตราสูง
3.รายได้ประชาชาติต่อหัวเพิ่มขึ้นพร้อมๆกับการแบ่งปันรายได้เท่าเทียมกันมากขึ้น
4.รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้นพร้อมกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในอัตราสูง
5.มีการส่งออกสินค้าการเกษตรเพิ่มมากขึ้น
7) ข้อใดเป็นลักษณะสำคัญที่สุดของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
1.การยอมให้ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจประชาธิปไตย
2.การยอมให้ประชาชนมีสิทธิ์และเสรีภาพเต็มที่
3.การยอมให้ประชาชนได้เลือกตั้งผู้แทนราษฎรโดยตรง
4.การถือว่าผู้แทนราษฎรเป็นผู้แทนของปวงชน
5.การถือว่าอำนาจอธิปไตยมาจากพรรคที่มีเสียงข้างมาก
8) ในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภากรณีใดที่ทำให้คณะรัฐมนตรีต้องพ้นตำแหน่ง
1.เมื่อมีการยุบสภา 2.เมื่อรัฐมนตรีจำนวนมากกว่ากึ่งหนึ่งลาออก
3.เมื่อรัฐสภามีมติไม่ไว้วางใจ 4.เมื่อรัฐสภาไม่รับหลักการร่าง พ.ร.บ.ที่รัฐบาลเสมอ
5.เมื่อรัฐมนตรีในคณะมีมลทินมัวหมอง
9) การยุบสภาเป็นวิธีการหนึ่งที่รัฐบาลทำได้ในกรณีมีความขัดแย้งกับสภาผู้แทนราษฎร จุดมุ่งหมายในการยุบสภา คืออะไร
1.เพื่อให้ประชาชนตัดสินใจเลือกตั้งใหม่ 2.เพื่อให้รัฐบาลปรับปรุงคณะรัฐมนตรี
3.เพื่อให้ ส.ส. สำนึกในบทบาทที่ดี 4.เพื่อยกเลิกการปกครองแบบรัฐสภา
5.เพื่อปรับปรุงบทบาทของรัฐสภาในการปกครองประเทศ
10) คำว่า ' คณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบร่วมกันต่อรัฐสภา ' หมายความว่าอย่างไร
1.คณะรัฐมนตรีต้องบริหารบ้านเมืองภายใต้การควบคุมของรัฐสภา
2.คณะรัฐมนตรีอาจถูกรัฐสภาอภิปรายและลงมติไม่ไว้วางใจ
3.คณะรัฐมนตรีอาจอยู่ในตำแหน่งได้ถ้ารัฐสภาไม่ไว้วางใจ
4.คณะรัฐมนตรีต้องรายงานการปฏิบัติงานต่อรัฐสภา
5.รัฐสภามีอำนาจตรวจสอบและกำหนดภารกิจให้ปฏิบัติ
11) หลักการจัดระเบียบบริหารราชการข้อใด ที่จะทำให้ประชาชนมีโอกาสปกครองตนเองตามวิถีทางประชาธิปไตย
ได้ดีที่สุด
1.หลักการรวมอำนาจปกครองไว้ที่ส่วนกลาง 
2.หลักการรวมอำนาจปกครองปกครองไว้ที่บุคคลคนเดียว
3.หลักการกระจายอำนาจปกครองให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น
4.หลักการรวมอำนาจไว้ที่พรรค ๆ เดียว 
5.หลักการให้ฝ่ายการเมืองมีอำนาจเหนือราชการประจำ
12) เพราะเหตุใดมนุษย์จึงต้องอยู่รวมกันเป็นสังคม
1.ต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่น ไม่สามารถอยู่คนเดียวได้ 2.ต้องช่วยเหลือแบ่งงานกันทำ
3.ต้องการความอยู่รอด 4.ต้องร่วมมือกันสร้างวัฒนธรรม
5.ต้องอยู่รวมกันโดยธรรมชาติ
13) สถาบันสังคม จะมั่นคงอยู่ได้ขึ้นอยู่กับข้อใด
1.การจัดระเบียบกฎเกณฑ์ทางสังคม 2.แนวทางและแบบแผนการปฏิบัติของคนในสังคม
2.การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม 4.บุคคลเข้าใจจุดประสงค์ของสถาบัน
5.บุคคลต้องช่วยเหลือเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน
14) รายได้ประชาชาติ (National income) วัดอะไร
1.การกระจายรายได้ของประชากรในประเทศ
2.อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ
3.อัตราความก้าวหน้าของเทคโนโลยีของประเทศ
4.มาตรฐานการครองชีพของประชาชนในประเทศ
5.ความสามารถในการสร้างรายได้ของประชากร
15) ข้อใดแสดงว่า ประเทศ ก. พัฒนามากกว่า ประเทศ ข.
1.ประเทศ ก. เป็นประเทศอุตสาหกรรม ประเทศ ข. เป็นประเทศเกษตรกรรม
2.จำนวนประชากรประเทศ ก. มากกว่าประเทศ ข.
3.รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อหัวประเทศ กง มากกว่าประเทศ ข.
4..ประชาชนในประเทศ ก. มีคุณภาพมากกว่าประเทศ ข.
5.ประชาชนในประเทศ ก. มี สุขภาพดีกว่าประเทศ ข.
16) ข้อใดมิใช่อำนาจหน้าที่กรมการปกครอง
1.บำบัดทุกข์ บำรุงสุขแก่ประชาชน 2.อำนวยการเกี่ยวกับการเลือกตั้งและพัฒนาประชาธิปไตย
3.ดำเนินการสื่อสารระหว่างจังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน
4.กำกับดูแลการจัดการศึกษาท้องถิ่น 5.ไม่มีข้อใดถูก
17) กรมการปกครองแบ่งส่วนราชการดังนี้
1.ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
2.ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
3.จังหวัด อำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล หมู่บ้าน
4.กรมการปกครอง จังหวัด อำเภอ
5.ถูกทุกข้อ
18) งานพัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธีการบริหารการปกครอง เป็นงานของหน่วยใด
1.สำนักบริหารงานปกครองท้องที่ 2.วิทยาลัยการปกครอง
3.กองการเจ้าหน้าที่ 4.กองวิชาการและแผนงาน
5.สำนักงานเลขานุกรม
19) ข้อใดมิใช่อำนาจหน้าที่ของที่ทำการปกครองอำเภอ
1.ดำเนินงานเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของกรมในเขตพื้นที่อำเภอ
2.ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ของสำนักงานอำเภอ 3.รณรงค์ให้เห็นปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
4.ข้อ 1. และ 2. 5.ไม่มีข้อใดถูก
20) ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับนโยบายสนับสนุนการบริหารและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1.สนับสนุนให้มีการใช้ระบบแผนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2.ให้ความรู้เจ้าหน้าที่และประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
3.รณรงค์ให้เห็นปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ 
4.ข้อ 1. และ 2. 5.ไม่มีข้อใดถูก
21) ข้อใดเกี่ยวข้องกับการปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการประชาชนให้เกิดความสะดวกรวดเร็วถูกต้อง
1.ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงาน บริการอำเภอเคลื่อนที่
2.สนับสนุนให้อำเภอเป็นศูนย์บริหารงาน บริการอำเภอเคลื่อนที่
3.สนับสนุนเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ การสื่อสารที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ
4.ถูกทุกข้อ
5.ไม่มีข้อใดถูก
22) การปรับปรุงระบบการป้องกันฝ่ายพลเรือน ให้สามารถแก้ไขปัญหาของประชาชนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
1.ศึกษาวิเคราะห์ความเสี่ยงในพื้นที่เพื่อเป็นพื้นฐานในการวางแผน
2.ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในระบบงานป้องกัน
3.ช่วยเหลือผู้ประสบภัยเฉพาะหน้าให้ทั่วถึงและบำรุงขวัญพร้อม
4.ข้อ 1. และ 3. 5.ถูกทุกข้อ
23) การวางแผนพัฒนาอำเภอต้องใช้ข้อมูล
1.จปฐ. 2.กชช.2ค. 3.จปฐ.และ กชช.2ค.
4.จปฐ.และกชช.2ค.ประกอบข้อเท็จจริงในพื้นที่ 5.ถูกทุกข้อ
24) กลุ่มปัญหาหลักในการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ
1.ด้านคุณภาพชีวิต 2.ด้านทรัพยากรมนุษย์
3.ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4.ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 5.ถูกทุกข้อ
25) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติปัจจุบันเป็นแผนฉบับที่เท่าใด
1.ฉบับที่ 7 2.ฉบับที่ 10 3.ฉบับที่ 8 4.ฉบับที่ 9 5.ฉบับที่ 12
26) จปฐ. ได้มีการประกาศแก้ไขและใช้เป็น 9 หมวด 37 ตัวชี้วัดในปีใด
1.2533 2. 2534 3. 2535 4.2536 5.2537
27) ตามหนังสือสั่งการของกรมการปกครองโครงการอำเภอเคลื่อนที่ เป็นหน้าที่รับผิดชอบของหน่วยงานใด
1.ฝ่ายทะเบียนและบัตร 2.ฝ่ายปกครองและพัฒนา
3.สำนักงานอำเภอ 4.งานส่งเสริมการปกครอง 5.งานปกครอง
28) กรุงเทพฯเป็นการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ มีฐานะทางการบริหารคล้ายกลุ่มใด
1.ผู้ว่าราชการจังหวัด 2.นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
3.ประธานกรรมการสุขาภิบาลที่มาจากการเลือกตั้ง
4.นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ 5.ข้อ 2,3 และ 4
29) ข้อใดมิใช่คณะกรรมการนโยบายกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคท้องถิ่น (กนภ.)
1.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง 2.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
3.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ 4.เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
5.ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
30) ผู้ใดเป็นที่ปรึกษาคณะกรรมการพัฒนาจังหวัด (กพจ.)
1.ประธานหอการค้าจังหวัด 2.ประธานสภาจังหวัด
3.ประธานชมรมธนาคารจังหวัด 4.สมาชิกสภาจังหวัด
5.สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทุกท่านในจังหวัด
31) กพจ. มีอำนาจอย่างไร
1.กำหนดนโยบายและแนวทางในการพัฒนา 2.ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาอำเภอ
3.จัดทำแผนปฏิบัติงาน 4.ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผน
5.อนุมัติให้เปลี่ยนแปลงพื้นที่ดำเนินการ
32) คุณธรรมสำหรับผู้บริหารที่พึงปฏิบัติประจำ
1.อิทธิบาท 4 2.ฆราวาสธรรม 4
3.พรหมวิหาร 4 4.สังคหวัตถุ 4 5.โลกบาลธรรม 2
33) การบริหารงานบุคคลข้อใดมิใช่ลักษณะระบบคุณธรรม
1.หลักความเสมอภาค 2.หลักความสามารถ
3.หลักความมั่นคง 4.หลักเสรีประชาธิปไตย
5.หลักความเป็นกลางทางการเมือง
34) การทำงานเป็นทีมข้อใดผิด
1.ทุกคนมีส่วนร่วมในการกำหนดวัตถุประสงค์ 2.มีการวางแผนทำงานร่วมกันต่อเนื่อง
3.มีการบำรุงขวัญอย่างดี 4.ผลงานเป็นของกลุ่ม 5.ไม่มีข้อใดถูก
35) การพัฒนาข้าราชการและลูกจ้างสังกัดกรมการปกครองอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานใด
1.สำนักงาน ก.พ. 2.กองการเจ้าหน้าที่ 3.กองวิชาการและแผนงาน
4.วิทยาลัยมหาดไทย 5.วิทยาลัยการปกครอง
36) ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่หนึ่งคือ การประชุม ซึ่งหมายถึงการให้บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมาพบกันโดยมีวัตถุประสงค์
ถามว่า ข้อใดข้างล่างนี้เป็นวัตถุประสงค์ของการประชุม
1.เพื่อชี้แจง 2.เพื่อทำความเข้าใจ 3.เพื่อแสดงความคิดเห็น
4.เพื่อหาข้อยุติ 5.ถูกทุกข้อ
37) การประชุมเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการบริหารงานและในการประชุม ผู้ทำหน้าที่ประธานถือว่าเป็นผู้ที่มีส่วนสำคัญ
สูงสุด ดังนั้น ประธานควรปฏิบัติดังต่อไปนี้ ยกเว้น ข้อใด
1.เตรียมสถานที่ให้พร้อม 2.ศึกษาและวางแผนการประชุม
3.สร้างบรรยากาศให้เป็นกันเอง 4.กระตุ้นให้ผู้เข้าประชุมทุกคนมีส่วนร่วม
5.นำให้ที่ประชุมตัดสินใจ

38) การประชุมที่มีประสิทธิผลประกอบด้วยคุณลักษณะดังต่อไปนี้ ยกเว้น ข้อใด
1.บรรลุตามจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ 2.ใช้เวลาเหมาะสม
3.มีผู้เข้าประชุมจำนวนมาก 4.ผู้เข้าประชุมส่วนใหญ่
5.ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้สึกผูกพันกับผลการประชุม
39) ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ การควบคุมและการติดตามงานเพื่อให้การดำเนินงานได้เป็นไป
ตามแผน อยากทราบว่า การควบคุมและการติดตามงานนี้มีความสำคัญต่อหน่วยงานอย่างไร
1.ทำให้ทราบความก้าวหน้า 2.ทำให้ทราบปัญหาและอุปสรรค
3.ทำให้ป้องกันและแก้ไขในสิ่งที่จะไม่ตรงกับวัตถุประสงค์
4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูก 
40) ข้อใดต่อไปนี้ที่แสดงชัดเจนว่าผู้บังคับบัญชาทำหน้าที่ติดตามงานไม่ใช่ควบคุมงาน
1.หัวหน้าฝ่ายการเงินตรวจสอบความก้าวหน้าของการวางฎีกาเบิกเงินและขอทราบปัญหาที่เกิดขึ้น
2.หัวหน้ากองดูแลปฏิบัติงานให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
3.อธิบดีสั่งให้วางแผนการปฏิบัติงานเพื่อไม่ให้งานมีปัญหา
4.นายอำเภอสอดส่องการทำงานในที่ว่าการอำเภอให้บริการประชาชนด้วยความเป็นธรรม
5.ถูกทุกข้อ
41) หน้าที่หนึ่งของผู้บังคับบัญชา คือการพัฒนาผู้ใต้บัญชา ถามว่า ผู้บังคับบัญชาต้องพัฒนา ผู้ใต้บังคับบัญชาในเรื่องใด
1.ความรู้ 2.ความสามารถ 3.ทักษะ 4.บุคลิกภาพอื่นๆ 5.ถูกทุกข้อ 
42) มีผู้รู้หลายคนให้ความหมายที่แตกต่างกันของการศึกษา, การฝึกอบรมและการพัฒนาโดยเน้นที่เป้าหมาย
คือ หน่วยงาน ตัวข้าราชการ และงาน ท่านเห็นว่า ข้อใดจับคู่กันถูกต้องที่สุด 
1.การฝึกอบรมมีเป้าหมายที่งาน 2.การพัฒนามีเป้าหมายที่ตัวข้าราชการ
3.การศึกษามีเป้าหมายที่หน่วยงาน 4.การศึกษามีเป้าหมายที่งาน
5.การฝึกอบรมมีเป้าหมายที่ตัวข้าราชการ
43) กิจกรรมเพื่อการพัฒนาบุคคลในหน่วยงานมีดังนี้ ยกเว้นข้อใด
1.การสอนงาน 2.การสับเปลี่ยนหมุนเวียน
3.การให้ทดลองงาน 4.การเข้าร่วมประชุมทางวิชาการ
5.การตั้งเป็นคณะทำงาน
44) เพื่อให้ได้ผลดีที่สุดในการสอนงานให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา เมื่อพบว่าการปฏิบัติงานของเขายังบกพร่องในเรื่อง
ที่ท่านมีความชำนาญเป็นพิเศษ ท่านจะทำอย่างไร
1.ส่งไปเข้าหลักสูตรอบรม 
2.ไม่มอบงานประเภทนั้นให้ทำอีก
3.ชี้แจงให้ทราบว่าควรจะต้องทำอย่างไร และมอบหมายให้มีผู้ดูแลใกล้ชิด
4.ลองให้เขาทำงานนั้นดูอีกครั้งพร้อมกับตรวจสอบผลงานเป็นระยะๆ และร่วมกันคิดแก้ไขปรับปรุงงาน
5.ทุกข้อได้ผลดีเท่าๆกัน
45) ข้อใดที่ไม่ใช่ขั้นตอนของกระบวนการฝึกอบรม
1.การจัดทำโครงสร้าง แบ่งงานของหน่วยงาน
2.การวิเคราะห์หาความจำเป็น 3.การสร้างหลักสูตรและจัดทำโครงการ
4.การดำเนินการ 5.การประเมินและติดตามผล
46) แนวการสอนและแนะนำการปฏิบัติงาน มีลำดับขั้นตอนตามข้อใด
1. ดำเนินการสอนงาน-กำหนดงานที่จะให้ทำ-สอดส่องความก้าวหน้า-ตรวจสอบการเรียนรู้และความสามารถในการปฏิบัติงาน
2. กำหนดงานที่จะให้ทำ- ดำเนินการสอนงาน-สอดส่องความก้าวหน้า-ตรวจสอบการเรียนรู้และความสามารถในการปฏิบัติงาน
3. ตรวจสอบการเรียนรู้และความสามารถในการปฏิบัติงาน-กำหนดงานที่จะให้ทำ-ดำเนินการสอนงาน-สอดส่องความก้าวหน้า
4. กำหนดงานที่จะให้ทำ-ตรวจสอบการเรียนรู้และความสามารถในการปฏิบัติงาน-ดำเนินการสอนงาน-สอดส่องความก้าวหน้า
47) ผู้บังคับบัญชาที่เป็นผู้สอนที่ดีแล้ว เมื่อผู้ใต้บังคับบัญชามาปรึกษาในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานตามที่มอบให้เขาทำ
1.บอกเขาไปว่าควรทำอย่าไร 2.ขอฟังความเห็นเขาก่อนว่าควรทำอย่างไร
3.ให้เขามาหาอีกครั้งหลังจากท่านพิจารณาเรื่องนี้แล้ว
4.บอกอย่างสุภาพว่าเป็นหน้าที่เขาต้องหาทางแก้ไข ไม่ใช่ท่าน 5.ทั้ง 4 ข้อ ได้ผลดีเท่ากัน 
48)ท่านคิดว่าการตั้งคณะทำงานหลายคณะประกอบด้วยข้าราชการจากหลายกอง มีประโยชน์ต่อการบริหารอย่างไร
1.ช่วยให้ผู้อำนวยการกองต่างๆประสานงานกันดีขึ้น
2.ทำให้เกิดการติดต่อประสานงานซึ่งกันและกันมากขึ้น
3.ช่วยให้ตัวข้าราชการมีประสบการณ์หลายรูปแบบ
4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูก
49) เพื่อให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานสำเร็จได้ผลตามต้องการ การประสานงานระหว่างหน่วยงานจึงเป็นสิ่งจำเป็น
แนวทางการประสานมีดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
1.จัดตั้งผู้ทำหน้าที่ประสานงาน 2.จัดการประชุมร่วมกัน
3.จัดสถานที่ทำงานใกล้เคียงกัน 4.จัดให้คนในหน่วยงานหนึ่งเป็นหัวหน้า
5.จัดเปลี่ยนหน้าที่ของข้าราชการระหว่างหน่วยงาน
( สำหรับข้อ 50-53 )
' ในการบริหารงานใด ให้สำเร็จนั้น การรู้เรา คือ การรู้งาน และ การรู้จักตน ของผู้บังคับบัญชาเป็นเรื่องสำคัญมากเช่นเดียวกับการรู้เขา คือ การรู้วิชาและการรู้จักคน'
คำสั่ง จงใช้ความรู้ด้านการบริหารและข้อความข้างต้น ตอบคำถามข้อ 50 - 53
50) ในตำแหน่งหัวหน้างานระดับ 6ทำงานด้านการเงินและบัญชี การรู้เขา น่าจะหมายถึงข้อใด
1.รู้ในเรื่องบัญชี 2.รู้ในเรื่องการควบคุมงาน
3.รู้ในเรื่องของผู้ใต้บังคับบัญชา 4.ข้อ 1. และ 2. 5.ถูกทุกข้อ
51) การรู้จักคน ที่ถือเป็นกลยุทธ์ทำให้การบริหารเกิดผลสำเร็จนั้น ผู้บริหารน่าจะปฏิบัติตามข้อใดข้างล่างนี้ 
ยกเว้นข้อในข้อใด
1.การยกย่องให้เกียรติพร้อมกับไว้เนื้อเชื่อใจ 2.มอบหมายงานสำคัญให้ตามโอกาสที่ควร
3.งานแก้ปัญหาเฉพาะตามที่อธิบดีตั้งเป็นคระทำงาน
4.พัฒนาตัวเองให้เป็นนักแก้ปัญหา 5.พัฒนาให้เขาเป็นผู้ให้บริการประชาชน
52) การรู้จักงาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ การรู้เรา นั้นจะเป็นงานตามข้อใด
1.งานตามที่ระบุไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 2.งานนโยบายที่ผู้บังคับบัญชามอบให้ปฏิบัติ
3.งานแก้ปัญหาเฉพาะตามที่อธิบดีตั้งเป็นคณะทำงาน 4.งานพิเศษที่ผู้อำนวยการให้ไปช่วยหน่วยงานอื่น
5.ถูกทุกข้อ
53) การรู้จักตน เป็นเรื่องสำคัญสำหรับผู้บังคับบัญชามาก และแนวทางที่จะช่วยในเรื่องรู้จักตนของผู้บังคับบัญชา มีดังนี้ ยกเว้นข้อใด
1. ยึดถือตัวเองเป็นหลัก 2. ทำงานเป็นทีมร่วมแก้ไขปัญหา
3. รับฟังความคิดเห็นของผู้ใต้บังคับบัญชา 4. ประเมินงานและประเมินตนสม่ำเสมอ 5. ยอมรับข้อเสนอและความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล

(สำหรับข้อ 54 - 56 ) 
มีผู้บังคับบัญชาหลายคนกล่าวว่า “การจูงใจที่ดีที่สุดให้คนทำงาน ก็คือการให้ในสิ่งที่คนนั้นต้องการ หรือการตอบสนองความต้องการ หรือการตอบสนองความต้องการของคนในองค์การนั้น ซึ่งตัวตอบสนองความต้องการนั้นมี 2 ส่วนคือ ที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม ”
คำสั่ง อาศัยข้อความข้างต้นและความรู้ทางการบริหารตอบคำถามข้อ 54 - 56
54) ตัวสนองที่เป็นรูปธรรมตามข้อความข้างต้น น่าจะหมายถึงอะไร
1.เงินเดือน 2.ที่ทำงาน 3.ระเบียบกฎเกณฑ์ 4.ผู้บังคับบัญชา 5.ถูกทุกข้อ
55) เทคนิคการจูงใจให้ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพที่เน้นตัวตอบสนองที่เป็นนามธรรมนั้นคือข้อใด
1.ผู้บังคับบัญชา 2.ภูมิอากาศ 3.บรรยากาศที่ดี 4.ปฏิบัติตามระเบียบดี 5.ถูกทุกข้อ 

56) “ในกรม ก. มีรูปแบบการให้รางวัลสำหรับผู้ทำงานดีทุกคนโดยให้เงินรางวัล 10% ของเงินเดือนเท่าเทียมกัน”ในแง่ของการจูงใจท่านเห็นว่าข้อใดน่าจะถูกต้องที่สุด
1.เห็นด้วยเพราะเกิดความเป็นธรรมผู้บัญชาไม่ลำเอียง
2.เห็นด้วยเพราะบรรยากาศในการทำงานจะดีเมื่อได้เงินเพิ่ม
3.ไม่เหมาะสมเพราะตัวตอบสนองของบางคนอาจไม่ใช่ตัวเงินต้องการเกียรติ
4.ไม่เห็นด้วย เพราะผู้น้อยได้ตัวเงินน้อยกว่าผู้ใหญ่มาก
5.ไม่เหมาะสมเพราะเงินรางวัลน่าจะมากกว่า 10% และได้เท่าๆกัน

( สำหรับข้อ 57 - 59 )
“การมอบหมายงาน เป็นเครื่องมือที่จำเป็นของผู้บริหาร เพราะเป็นการกระจายภาระหน้าที่ความรับผิดชอบไปให้กับ
ผู้ร่วมงานทำให้ผู้บริการมีเวลามาปฏิบัติงานด้านการบริหาร ได้อย่างเหมาะสมและเกิดผลดีแก่ผู้ร่วมงาน”
คำสั่ง อาศัยข้อความข้างต้นและความรู้ทางบริหารตอบคำถามข้อ 57 – 59
57) ข้อใดเป็นการมอบหมายงานตามข้อความข้างต้น
1.ผู้อำนวยการกองให้อำนาจเลขานุการกรมพิจารณาความดีความชอบข้าราชการแทนตน
2.อธิบดีให้อำนาจรองอธิบดีสั่งลงโทษวินัยร้ายแรงแก้ข้าราชการแทนตน
3.หัวหน้าฝ่ายทุกคนในกอง ให้อำนาจผู้อำนวยการกองสั่งลงโทษภาคทัณฑ์ข้าราชการในทุกฝ่าย
4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูก
58) การกระจายภาระหน้าที่ดังกล่าวข้างต้นน่าจะเป็นงานตามข้อใด
1.งานนโยบาย 2.งานวางแผน
3.งานอนุญาตการลา 4.ข้อ 1. และ 2. 5.ข้อ 2. และ 3.
59) การมอบหมายงานเป็นผลดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างไร
1.เป็นการสอนงานผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างหนึ่ง 2.เป็นการสร้างขวัญในหมู่ผู้ใต้บังคับบัญชา
3.ทำให้เกิดความพอใจในการทำงาน 4.ข้อ 1. และ 2. 5.ถูกทุกข้อ

( สำหรับข้อ 60 - 65 )
“ในการบริหารงานนั้นผู้รู้หลายท่านเห็นว่าจะประกอบด้วยภารกิจ 4 ประการ คือ 1.การวางแผน 2.การจัดองค์การ3.การอำนวยการ 4.การควบคุมงานและผู้บังคับบัญชา (ผบ.)นั้นก็อาจต้องทำหน้าที่บริหารงานทั้งนั้น”
คำสั่ง ใช้ความรู้ทางด้านบริหารตอบคำถามข้อ 60-65
60) ข้อใดข้างล่างนี้ถูกต้อง
1.ผบ.ระดับสูงให้ทุ่มเทกับการวางแผนเป็นส่วนใหญ่
2.ผบ.ระดับกลางจะทุ่มเทให้กับการควบคุมงานมากกว่า ผบ.ระดับต้น
3.คนที่เก่งคิดคือ ผบ.ระดับสูง แต่ ผบ.ระดับกลางจะเก่งงาน
4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูก
61) สำหรับผู้บังคับบัญชาระดับต้นนั้นทุ่มเทให้กับภารกิจจากมากไปน้อย ตามข้อใดข้างล่าง
1.การวางแผน การจัดองค์การ การอำนวยการ การควบคุม
2.การควบคุ ม การอำนวยการ การจัดองค์การ การวางแผน
3.การจัดองค์การ การอำนวยการ การวางแผน การควบคุม
4.การอำนวยการ การจัดองค์การ การจัดองค์การ การวางแผน
5.ไม่มีข้อใดถูก
62) สำหรับภารกิจของการบริหารประการแรกคือ การวางแผนนั้นมีกิจกรรมดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
1.กำหนดวัตถุประสงค์ 2.กำหนดเป้าหมาย
3.กำหนดวิธีการ 4.กำหนดระเบียบปฏิบัติ 5.กำหนดข้อปรับปรุงแก้ไขผลที่จะได้
63) กิจกรรมการรายงาน การประเมินและเปรียบเทียบนั้นจัดอยู่ในภารกิจของการบริหารตามข้อใด
1.การวางแผน 2.การจัดองค์การ
3.การอำนวยการ 4.การควบคุมงาน 5.ไม่มีข้อใดถูก
64) การประเมินผลมีประโยชน์ตามข้อใดข้างล่างนี้
1.ทำให้ทราบความก้าวหน้าของงาน 2.ทำให้ทราบความสามารถของผุ้ทำงาน
3.ทำให้ทราบว่างานได้ผลตามมาตรฐานเพียงใด 4.เป็นแนวทางพิจารณาความดีความชอบ
5.ถูกทุกข้อ
65) กิจกรรมการแบ่งงานและมอบหมายงานกันนั้นอยู่ในภารกิจของการบริหารตามข้อใด
1.การวางแผน 2.การจัดองค์การ
3.การอำนวยการ 4.การควบคุมงาน 5.ไม่เกี่ยวข้องกับภารกิจการบริหาร
66) กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินที่ใช้ในปัจจุบัน
1.พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
2.พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2495
3.พระราชบัญญัติระเบียบราชการ สำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2505
4.พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457
5.ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 326 
67) ประเทศไทยปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เป็นการกล่าวถึง
ประชาธิปไตยในแง่ของ
1.รูปการ 2.การเมือง 3.อาชีพ
4.รูปแบบการปกครอง 5.ไม่มีข้อใดถูก 
68) งานทะเบียนครอบครัว คือการจดทะเบียนที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัวโดยมีกฎหมายรับรองคุ้มครองสิทธิ์ให้แบ่งเป็น 7 ประเภท ให้เลือกว่าข้อไหนไม่ใช่งานทะเบียนครอบครัว
1.ทะเบียนชื่อบุคคล 2.ทะเบียนรับรองบุตร
3.ทะเบียนรับรองบุตรบุญธรรม 4.ทะเบียนเลิกรับรองบุตรบุญธรรม
5.ทะเบียนบันทึกฐานะภริยา
69) พื้นที่การปกครองระดับอำเภอที่มีเทศบาลอยู่ในเขตรับผิดชอบ ผู้ดำรงตำแหน่ง ผอ.ปพร. ท้องที่นั้นคือ
1.นายอำเภอเป็น ผอ.ปพร. ทั้งพื้นที่ 
2.นายกเทศมนตรีเป็น ผอ.ปพร. ทั้งพื้นที่
3.นายอำเภอและนายกเทศมนตรี แยกส่วนรับผิดชอบป็น ผอ.ปพร. เฉพาะพื้นที่รับผิดชอบ
4.ปลัดเทศบาลเป็น ผอ.ปพร. ในเขตเทศบาล
5.ผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะ ผอ.ปพร. จว. เห็นสมควรและแต่งตั้ง
70) การสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีวัตถุประสงค์ เพื่อ
1.เพื่อที่จะทราบข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิดและเอาตัวผู้กระทำผิดมาฟ้องลงโทษ
2.เพื่อที่จะรู้ตัวผู้กระทำผิด
3.เพื่อรวบรวมพยานหลักฐานให้พนักงานอัยการส่งฟ้อง
4.เพื่อที่จะทราบรายละเอียดของการกระทำความผิด
5.เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย และป้องกันการกระทำผิด
71) การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลางประกอบด้วย
1.หน่วยราชการเทียบเท่ากรมขึ้นไป ยกเว้นกรมในราชการทหาร
2.สำนักนายกรัฐมนตรี ทบวง กรม รัฐสภาและศาลยุติธรรม
3.กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการเทียบเท่ากรมและให้รวมถึงสถานเอกอัครราชทูต สถานทูต และสถาน
กงสุลไทยในต่างประเทศด้วย 
4.กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการเทียบเท่ากรม และรัฐ0วิสาหกิจ
5.สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี หรือกระทรวงและ
กรมหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นซึ่งมีฐานะเป้นกรม ซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี 
กระทรวงหรือทบวง
72) หน่วยงานที่ไม่ได้เป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
1.เมืองพัทยา 2.องค์การบริหารส่วนตำบล 3.สภาตำบล
4.กรุงเทพมหานคร 5.สุขาภิบาล
73) การสมรสจะสมบูรณ์ตามกฎหมายต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ 3 ประการ คือหลักเกณฑ์ของความยินยอมเงื่อนไขของกฎหมาย และได้มีการจดทะเบียนสมรสตามกฎหมายแล้วเท่านั้น การได้รับความยินยอมเมื่อ ชายหญิงที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะกระทำได้โดย (เลือกข้อผิด 1 ข้อ)
1.ลงรายชื่อในทะเบียนขณะที่จดทะเบียนสมรส
2.ทำเป็นหนังสือแสดงความยินยอม โดยระบุชื่อผู้ที่จะสมรสทั้งสองฝ่าย และลงลายมือชื่อของผู้ให้ความ 
ยินยอม
3.มีเหตุจำเป็นจะให้ความยินยอมด้วยวาจาต่อหน้าพยานอย่างน้อย 2 คน
4.หากบิดามารดาตายหมด และ ไม่มีผู้ปกครองไม่ต้องให้ความยินยอมก็ได้ โดยอนุโลมและให้หมายเหตุไว้
5.ข้อ 1,2 และ 3
74) ข้อใดที่มิใช่มาตราการหลักในการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนตามเจตนารมณ์ของ พ.ร.บ. ป้องกันฝ่ายพลเรือน 
พ.ศ. 2522 (ปัจจุบันยกเลิกแล้ว)
1.วิธีป้องกัน 2.วิธีคุ้มกัน 3.วิธีควบคุม 4.วิธีบูรณะและฟื้นฟู 5.วิธีแจ้งเตือนภัย
75) คำร้องทุกข์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หมายถึง
1.ผู้เสียหายได้กล่าวหาต่อพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจว่ามีผู้กระทำความผิดขึ้น โดยจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว
ผู้กระทำความผิดก็ตาม ซึ่งกระทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้เสียหาย และการกล่าวหาเช่นนั้นต้องการให้
ผู้กระทำผิดได้รับโทษ
2.การไปกล่าวหาต่อเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการว่ามีผู้กระทำความผิดขึ้นละเกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น
3.การไปแจ้งความต่อพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจว่ามีผู้กระทำความผิดและต้องให้ผู้กระทำต้องไดรับ
การลงโทษ
4.ผู้เสียหายได้กล่าวหาต่อพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจว่ามีผู้กระทำความผิดขึ้น โดยจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวก็
ตามซึ่งกระทำให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น และการกล่าวหาเช่นนั้นต้องการให้ผู้กระทำผิดได้รับโทษ
5.ไม่มีข้อใดถูก
76) ข้าราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไทย คือ (เลือกข้อถูกมากที่สุด)
1.ผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด และหัวหน้าสำนักงานจังหวัด 
2.ผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด และปลัดอำเภอ
3.ผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด และนายอำเภอ
4.ผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด และนายอำเภอ
5.ผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดจังหวัด และนายอำเภอ
77) ฝ่ายชายอายุ 17 ปี ฝ่ายหญิงอายุ 15 ปี ทั้งสองมีสัญชาติไทย ได้อยู่กินกันจนตั้งครรภ์แล้วได้ไปขอจดทะเบียนสมรสตามกฏหมาย ตรวจสอบแล้วเงื่อนไขอื่นๆไม่มีปัญหา ท่านจะแนะนำหรือดำเนินการในการจดทะเบียนสมรสอย่างไร
1.ให้ไปขออนุญาตต่อศาล 2.ขออนุญาตต่อนายทะเบียนกลาง
3.ขออนุญาตต่อปลัดกระทรวงมหาดไทย 4.ขออนุญาตต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
5.จดทะเบียนสมรสให้
78) ข้อใดถูก
1.ความผิดในคดีอาญาตามกกหมายว่าด้วยประถมศึกษาให้พนักงานสอบฝ่ายปกครองทำการสอบสวนได้
2.ถ้านายอำเภอใช้อำนาจเข้าควบคุมการสอบสวนคดีเกี่ยวกับป่าไม้ หรือทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ให้พนักงาน 
อัยการเข้าร่วมตรวจสำนวนด้วย
3.ความแพ่งที่เป็นคดีมีทุนทรัพย์ 20,000 บาทเกินอำนาจของนายอำเภอที่จะออกหมายเรียกคู่กรณีไป 
เปรียบเทียบได้
4.เงินค่าปรับตาม พ.ร.บ. ภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2508 ให้ตกเป็นรายได้ของกระทรวงการคลัง 
5.ข้อ 2. และ 4.
79) นางสุขมาแจ้งต่อพนักงานสอบสวนว่า บุตรสาวของตนถูกผู้ชายไม่ทราบชื่อกระทำอาณาจารขณะขายผลไม้อยู่ที่ตลาด จึงขอให้เจ้าหน้าที่จัดการนำตัวบุคคลดังกล่าวมาดำเนินคดี การกระทำของนางสุข เป็น
1.คำแจ้งความ 2.คำฟ้อง 3.คำกล่าวโทษ 4.คำร้องทุกข์ 5.ไม่มีข้อใดถูก
80) ตามกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดินการจัดระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย
1.องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล และสภาตำบล
2.องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล และส่วนราชการส่วนท้องถิ่นอื่นตามที่มีกฎมายกำหนด
3.องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล สุขาภิบาลที่ประธานกรรมการ
4.องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล เมืองพัทยา และกรุงเทพมหานคร
5.องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร และสภาตำบล
81) ข้อใดเป็นกิจกรรมหรือกระบวนการที่สำคัญในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
1.การเลือกตั้ง 2.การตั้งพรรคการเมือง
3.การโฆษณาชวนเชื่อ 4.ถูกทุกข้อ 5.ข้อ 1. และ 2.
82) การจดทะเบียนอย่าต่างสำนักงานให้นายทะเบียนทั้งสองแห่งหมายเหตุไว้บนคำร้องและทะเบียนการหย่าว่า“ต่างสำนักทะเบียน” เมื่อนายทะเบียนทั้งสองแห่งต่างได้รับคำร้องและตรวจสอบหลัดฐานถูกต้องแล้ว ให้ นายทะเบียนแห่งที่จดทะเบียนการหย่าครั้งหลังเป็นผู้ออกเลขทะเบียนและใบสำคัญการหย่าให้ ความสมบูรณ์ในการหย่าถือวันใด
1.วันที่ได้ยื่นคำร้องขอจดทะเบียนที่สำนักทะเบียน
2.วันที่ส่งใบสำคัญการหย่าไปให้สำนักทะเบียนแห่งแรก
3.วันที่ได้จดทะเบียนการหย่าที่สำนักทะเบียนครั้งหลัง
4.วันที่สำนักทะเบียนแห่งแรกได้รับใบสำคัญการอย่า
5.ไม่มีข้อใดถูก
83) ข้อใดผิด
1.พ.ร.บ. กองอาสารักษาดินแดน พ.ศ. 2497 ตราขึ้นเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2497
2.ปลัดจังหวัดเป็นรองผู้บังคับการกองอาสารักษาดินแดนจังหวัด
3.กองบัญชาการกองอาสารักษาดินแดนภาค (บก.อส.ภ.) เป็นหน่วยรองลงมาจากกองบัญชาการกองอาสารักษา
ดินแดน (บก. อส.)
4.การรักษาสถานที่สำคัญและการคมนาคมเป็นหน้าที่ของสมาชิก อส.
5.รองผู้บัญชาการอาสารักษาดินแดน คือ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
84) คณะกรรมการควบคุมเช่านาประจำอำเภอตาม พ.ร.บ. ควบคุมการเช่านา พ.ศ. 2517 ประกอบด้วยหัวหน้าส่วน
ราชการประจำอำเภอ ดังนี้
1.นายอำเภอ ปลัดอำเภอ ที่ดินอำเภอ เกษตรอำเภอ
2.นายอำเภอ ปลัดอำเภอ ที่ดินอำเภอ สรรพากรอำเภอ
3.นายอำเภอ ที่ดินอำเภอ เกษตรอำเภอ ป่าไม้อำเภอ
4.นายอำเภอ ที่ดินอำเภอ พัฒนาการอำเภอ เกษตรอำเภอ
5.ข้อ 2. และ 3.
85) กรมการอำเภอประกอบด้วยนายอำเภอ ปลัดอำเภอและสมุห์บัญชีอำเภอ มีบัญญัติไว้ในกฏหมายลักษณะปกครองท้องที่ แต่ตามกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดินบัญญัติว่า บรรดาอำนาจและหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกรมการอำเภอหรือนายอำเภอ ซึ่งกฎหมายกำหนดให้กรมการอำเภอและนายอำเภอมีอยู่
1.ให้คงมีอำนาจหน้าที่ตามเดิม 2.ให้กรมการอำเภอมอบอำนาจให้นายอำเภอ
3.ให้กระทรวงมหาดไทยกำหนดให้เป็นอำนาจและหน้าที่ของนายอำเภอ
4.ให้ปรับปรุงแก้ไขโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
5.ให้โอนไปเป็นอำนาจและหน้าที่ของนายอำเภอ
86) การปรับปรุงประสิทธิภาพคณะกรรมการหมู่บ้านมิได้เป็น
1.การพัฒนาองค์กร เพื่อยกฐานะเป็นนิติบุคคล 2.การพัฒนาบุคลากรของ ปค.
3.การพัฒนาประชาธิปไตย 4.การพัฒนาสังคม 5.การพัฒนาชนบท
87) หลักการพัฒนาชนบทเน้นหนักเรื่องใดมากที่สุด
1.มุ่งกระจายรายได้ให้เท่าเทียมกันทั่วในชนบทและในเมือง
2.สร้างโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงในชนบท
3.ปรับปรุงระบบการบริหารการพัฒนาชนบทให้เกิดการประสานการปฏิบัติมากขึ้น
4.เร่งรัดให้มีบริการของรัฐและโตรงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจในชนบทมากขึ้น
5.เร่งรัดปัญหาเรื่องการขาดแคลนน้ำในชนบทเป็นอันดับแรก
88) สัตว์พาหนะ หมายถึง
1.ช้าง ม้า อูฐ กระบือ ล่อ ลา 2.ช้าง ม้า โค กระบือ ล่อ ลา
3.โคและกระบือเท่านั้น 4.ช้าง ม้า กระบือ โค ลา
5.ไม่มีข้อใดถูก
89) หน่วยอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน จัดตั้งขึ้นโดยอาศัย
1.พ.ร.บ. กองอาสารักษาดินแดน พ.ศ. 2497
2.ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยไทยอาสาป้องกันชาติ พ.ศ. 2521
3.พ.ร.บ. จัดระเบียบบริหารหมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง พ.ศ. 2522
4.ระเบียบการจัดตั้งมวลชนของสันนิบาต เทศบาลแห่งประเทศไทย
5.ไม่มีข้อใดถูก
90) นิติบุคคลตามกฎหมายได้แก่
1.ทบวงการเมือง ห้างหุ้นส่วน สมาคม มัสยิด
2.จังหวัด เทศบาล ธนาคารออมสิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.กรมการปกครอง บริษัทจำกัด วัด สภาตำบล
4.จังหวัด สำนักนโยบายและแผนมหาดไทย มูลนิธิ โรงเรียน
5.ไม่มีข้อใดถูก
91) ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งให้มีผู้ใหญ่บ้านคนหนึ่ง และมีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายปกครองหมู่บ้านละ 2 คน เว้นแต่หมู่บ้านใดมีความจำเป็นต้องมีมากว่า 2 คน
1.ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งตามที่เห็นควร 2.ให้ขออนุมัติผู้ว่าราชการจังหวัด
3.ให้แต่งตั้งจากผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ 4.ให้ขออนุมัติกระทรวงมหาดไทย
5.ให้ผู้ใหญ่บ้านและกำนันท้องที่ร่วมกันพิจารณาคัดเลือกราษฎรซึ่งมีคุณสมบัติตามมาตรา 16 รายงานนายอำเภอออกหนังสือสำคัญ
92) ในการปรับปรุงประสิทธิภาพคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ข้อใดเป็นการพัฒนาประชาธิปไตยมากที่สุด
1.ให้ กม. มีความรู้มากขึ้น 2.กม.รู้จักร่วมกันคิด ร่วมกันทำงาน และพึ่งตนเองมากขึ้น
3.กม. ทำงานได้ดีขึ้น 4.กม. สามารถจัดทำโครงการต่างๆได้ดีขึ้น
5.กม. สามารถขอความร่วมมือราษฎร ทำงานให้ทางราชการได้มากขึ้น
93) อำนาจหน้าที่การสอบสวนคดีอาญาโอนจากฝ่ายปกครองไปยังฝ่ายตำรวจ โดย....
1.ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
2.ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกฎระเบียบการสอบสวนคดีอาญาบางประเภทในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2520
3.ข้อบังคับที่ 1/2509 ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2509
4.ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการโอนหน้าที่การสอบสวนคดีอาญา ลงวันที่ 1 มิถุนายน 2510
5.พ.ร.บ. โอนอำนาจการสอบสวน พ.ศ. 2512
94) ทายาทโดยชอบธรรมมีสิทธิ์ได้รับมรดกก่อนหลังตามลำดับดังต่อไปนี้
1.บิดามารดา, ปู่ย่าตายาย, ผู้สืบสันดาน, พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
2.ผู้สืบสันดาน, บิดามารดา, พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน, พี่น้องร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกัน
3.ผู้สืบสันดาน, พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน, พี่น้องร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกัน, บิดามารดา
4.ผู้สืบสันดาน, บิดามารดา, ปู่ย่าตายาย, พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
5.ข้อ 3. และ 4.
95) แพทย์ประจำตำบลจะรับผิดชอบ
1.เฉพาะในตำบลที่มีถิ่นที่อยู่เท่านั้น
2.ตำบลที่มีถิ่นที่อยู่และตำบลอื่นๆซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นสมควรและแต่งตั้งให้เป็นแพทย์ประจำตำบล
หลายแห่ง
3. 2 ตำบลก็ได้ หากยินยอมรับผิดชอบการกระทำ 2 ตำบล และผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง
4.หมู่บ้านที่เป็นถิ่นที่อยู่และหมู่บ้านอื่นๆในตำบลเดียวกัน
5.ตำบลที่มีถิ่นที่อยู่และตำบลหรือหมู่บ้านอื่นที่กำนันหรือผู้ใหญ่บ้านนั้นร้องขอ

96) ข้อใดที่ไม่ใช่เงื่อนไขตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่กำหนดไว้เป็นเงื่อนไขของการจดทะเบียนสมรส
1.ชายหรือหญิงไม่เป็นคนวิกลจริต หรือเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
2.ชายมีอายุ 17 ปี บริบูรณ์ หญิงมีอายุ 15 ปี บริบูรณ์
3.ผู้รับบุตรบุญธรรมกับบุตรบุญธรรมจะสมรสกันไม่ได้
4.ชายหรือหญิงจะสมรสกันในขณะที่ตนมีคู่สมรสอยู่ไม่ได้
5.ไม่มีข้อใดถูก
97) ข้อใดผิด
1.ผู้บังคับกองหนุนหมู่บ้าน (ผบ.บ.) ดำรงตำแหน่งโดยการเลือกตั้ง
2.ทหารกองหนุนตามโครงการ กนช. เกี่ยวพันกับการส่งเสริมกิจกรรมทางศาสนา ขณบธรรมเนียมประเพณี 
และวัฒนธรรม
3.ผู้บังคับกองหนุนตำบล (ผบ.ต.)แต่งตั้งจากกำนันท้องที่
4.นายอำเภอเป็นประธานคณะกรรมการทหารกองหนุนระดับอำเภอ (กนช.อ.)
5.ประธาน ลส.ชบ. อำเภอเป็นกรรมการกนช.อ.
98) หากท่านเป็นปลัดอำเภอและนายอำเภอมอบหมายให้ท่านสืบสวนการกระทำความผิด พ.ร.บ. สุสานและฌาปน สถานพ.ศ. 2528 อยากทราบว่า เมื่อท่านดำเนินการสอบสวนแล้วจะเสนอบันทึกการสอบสวนต่อนายอำเภอโดยมีสาระสำคัญของประเด็นรายงานการสืบสวนประการใดบ้าง
1.วันเวลาและสถานที่เกิดเหตุ, ข้อหาการกระทำความผิด, ผู้เสียหาย, ผู้กระทำความผิด, พยานบุคคล
2.วันเวลา, สถานที่เกิดเหตุ, ข้อหาการกระทำความผิด, ผู้เสียหาย, ผู้กระทำความผิด, พยานบุคคล
3.วันเวลาและสถานที่เกิดเหตุ , ฐานความผิด, ผู้กระทำความผิด, ผู้สนับสนุนการกระทำความผิด , พยานวัตถุ
4.วันเวลาและสถานที่เกิดเหตุ, ข้อหา, ผู้เสียหาย, พยานวัตถุ, พยานเอกสาร
5. ไม่มีข้อใดถูก
99) การตั้งกิ่งอำเภอ
1.จะต้องออกเป็นกฎกระทรวงมหาดไทย 2.จะต้องออกเป็นประกาศกระทรวงมหาดไทย
3.จะต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา 4.จะต้องตราเป็นพระราชกำหนด
5.จะต้องตราเป็นพระราชบัญญัติ
100) นายทะเบียนกลางของงานทะเบียนครอบครัว คือ
1.หัวหน้างานทะเบียนครอบครัวและพินัยกรรมสำนักบริหารการทะเบียน
2.หัวหน้าฝ่ายบริหารการทะเบียนสำนักบริหารการทะเบียน
3.อธิบดีกรมการปกครอง
4.ผู้อำนายการส่วนการทะเบียนทั่วไปสำนักบริหารการทะเบียน
5.ไม่มีข้อใดถูก
เฉลยชุดที่1
1. 3 21. 4 41. 5 61. 2 81. 1 
2. 5 22. 5 42. 1 62. 5 82. 3
3. 5 23. 4 43. 3 63. 4 83. 5
4. 2 24. 5 44. 4 64. 5 84. 1
5. 4 25. 2 45. 1 65. 2 85. 5
6. 3 26. 3 46. 2 66. 1 86. 1
7. 1 27. 3 47. 2 67. 2 87. 1
8. 1 28. 4 48. 4 68. 1 88. 2
9. 1 29. 5 49. 4 69. 3 89. 5
10. 1 30. 5 50. 5 70. 1 90. 2
11. 3 31. 5 51. 4 71. 5 91. 4
12. 1 32. 3 52. 5 72. 3 92. 2
13. 2 33. 4 53. 5 73. 4 93. 3
14. 2 34. 5 54. 1 74. 5 94. 2
15. 3 35. 5 55. 5 75. 1 95. 3
16. 5 36. 5 56. 3 76. 3 96. 2
17. 1 37. 1 57. 2 77. 1 97. 3
18. 4 38. 3 58. 5 78. 1 98. 5
19. 5 39. 4 59. 1 79. 3 99. 2
20. 5 40. 2 60. 4 80. 2 100. 4
*******************************
*******************
แนวข้อสอบปลัดอำเภอชุดที่ 2
ตะลุยโจทย์ ปลัดอำเภอ ชุดที่ 2
1) วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามที่ศาลรัฐธรรมนูญกำหนด ซึ่งต้องทำโดยมติเอกฉันท์ของคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และให้ประกาศในอะไร
1.ราชกิจานุเบกษา 2.กฎหมาย
3.พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 4.ถูกทั้งข้อ 1. และ 3. 5.ไม่มีข้อใดถูก
2) ถ้านายอำเภอไม่อยู่ ใครเป็นผู้รักษาการแทน
1.ปลัดอาวุโส 2.หัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอ
3.ปลัดอำเภอที่นายอำเภอมีคำสั่งแต่งตั้งไว้
4.หัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมีคำสั่งแต่งตั้งไว้
5.ข้าราชการในอำเภอที่มีอาวุโสสูงสุดในเวลานั้น
3) ตำแหน่งในข้อใดไม่จัดเป็น “ ข้าราชการฝ่ายพลเรือน ”
1.ข้าราชการครู 2.ข้าราชการพลเรือน
3.ข้าราชการส่วนจังหวัด 4.ข้าราชการตำรวจ 5.ข้าราชการตุลาการ
4) ใครเป็นประธาน อ.ก.พ. กระทรวง
1.รัฐมนตรีว่าการกระทรวง 2.รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
3.ปลัดกระทรวง 4.รองปลัดกระทรวงที่ปลัดกระทรวงมอบหมาย
5.เลขานุการรัฐมนตรี
5) ตำแหน่งใดเป็นตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูงสุด
1.นายอำเภอระดับ 8 2.ปลัดจังหวัด
3.หัวหน้าสำนักงานจังหวัด 4.รองผู้ว่าราชการจังหวัด 5.ผู้อำนวยการกอง
6) ชื่อตำแหน่งในสายงานของเสมียนตราอำเภอในปัจจุบัน คือ
1.เจ้าพนักงานเงินและบัญชี 6 2.เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 5
3.เจ้าหน้าที่บริหารการเงินและบัญชี 6 4.นักวิชาการเงินและบัญชี 5
5.นักวิชาการเงินและบัญชี 6
7) การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนตั้งแต่ระดับ 10 ขึ้นไปเป็นอำนาจของ
1.คณะรัฐมนตรี 2.นายกรัฐมนตรี
3.รัฐมนตรีเจ้าสังกัด 4.ปลัดกระทรวง 5.ไม่มีข้อใดถูก
8) ข้อใดมิใช่โทษทางวินัย
1.ปลดออก 2.ไล่ออก 3.ทัณฑ์บน 4.ตัดเงินเดือน 5.ลดเงินเดือน
9)การลาออกจากราชการเพื่อไปสมัครสมาชิกสภาเทศบาลจะมีผลนับตั้งแต่
1.ผู้บังคับบัญชาอนุมัติ 2.ครบกำหนด 30 วัน นับแต่วันลาออก
3.วันที่ยื่นหนังสือขอลาออก 4.วันที่ขอลาออก 5.วันที่มีการเลือกตั้ง
10) การอุทธรณ์คำสั่งลงโทษมีกำหนดภายใน
1. 15 วันนับแต่เริ่มถูกลงโทษ 2. 15 วันนับแต่วันทราบคำสั่ง
3. 30 วันนับแต่เริ่มถูกลงโทษ 4. 30 วันนับแต่วันทราบคำสั่ง 5.ไม่มีข้อใดถูก

11) ผู้ทรงคุณวุฒิคนใดอยู่ใน อ.ก.พ.จังหวัด
1.ด้านการบริหาร 2.ด้านการบริหารงานบุคคล
3.ด้านกฎหมาย 4.ด้านการบริหารและการจัดการ 5.ไม่มีข้อใดถูกต้อง
12) ข้อใดขาดคุณสมบัติของการเป็นข้าราชการพลเรือน
1.ผู้เคยถูกลงโทษไล่ออกจากราชการ 2.ผู้ที่โอนสัญชาติเป็นสัญชาติไทย
.ผู้ที่เป็นโรคเอดส์ 4.ผู้ที่เป็นผู้ใหญ่บ้าน
5.ผู้ที่เป็นสมาชิกพรรคการเมือง
13) ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญระดับ 10 ที่มีลักษณะบริหารไม่ควรปฏิบัติหน้าที่เดียวติดต่อกันนานกี่ปี
1. 2 ปี 2. 3 ปี 3. 4 ปี 4. 5 ปี 5. 6 ปี
14) “ ก.พ.” คืออะไร
1.หน่วยราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี 2.หน่วยราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
3.คณะกรรมการตามกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
4.คณะกรรมการตามกฎหมายระเบียบข้าราชการพลเรือน
5.ไม่มีข้อใดถูก
15) ผู้ว่าราชการจังหวัดสามารถย้ายข้าราชการของกรมการปกครองภายในจังหวัดได้ตั้งแต่ระดับ
1. 7 ลงมา 2. 6 ลงมา 3. 5 ลงมา 4. 4 ลงมา 5. 3 ลงมา
16) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ใช้บังคับแก่ส่วนราชการดังต่อไปนี้
1. ใช้บังคับแก่ส่วนราชการทั้งหมดภายในประเทศ ยกเว้นหน่วยงานของรัฐในต่างประเทศซึ่งจำเป็นต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับประเทศนั้นๆ
2. .ใช้บังคับแก่ส่วนราชการทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคทุกจังหวัด ยกเว้นท้องถิ่นซึ่งมีอิสระที่จะกำหนดรูปแบบของตนเอง
3. ใช้บังคับแก่ส่วนราชการทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และท้องถิ่นภายในประเทศ
4. ใช้บังคับแก่ส่วนราชการทุกกระทรวง ทบวง กรม สำนักงานหรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐทั้งในส่วนกลางภูมิภาค และท้องถิ่น หรือในต่างประเทศ
5. ใช้บังคับแก่ส่วนราชการทุกกระทรวง ทบวง กรม ทั้งในส่วนกลางและถูมิภาคยกเว้นรัฐวิสาหกิจ
17) งานสารบรรณ ตามระเบียบฯ หมายความว่า
1. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร 6 อย่าง คือ การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม และการทำลาย
2. งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสารทั้งหมดตั้งแต่การคิด การร่าง การพิมพ์ การส่ง การเก็บรักษา และการทำลาย
3. งานบริหารเกี่ยวกับเอกสารทั้งหมด รวมทั้งการจัดหา ดูแลรักษา วัสดุอุปกรณ์ เช่น กระดาษ เครื่องพิมพ์ ด้วย
4. เหมือนข้อ 3 แต่ไม่รวมวัสดุอุปกรณ์
5. เหมือนข้อ 2 และรวมงานจัดหาดูแลวัสดุอุปกรณ์ด้วย
18) ระเบียบ คืออะไร
1.บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้โดยอาศัยอำนาจของกฎหมาย
2.บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่ได้วางไว้โดยอาศัยอำนาจของกฎหมายหรือไม่ก็ได้
3.บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจกำหนดให้ข้าราชการปฏิบัติภายในส่วนราชการนั้นๆ
4.บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสูงสุดในส่วนราชการวางไว้ให้ส่วนราชการปฏิบัติ
5.บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสูงสุดในส่วนราชการวางไว้ให้ส่วนราชการปฏิบัติ แต่ต้องอาศัยอำนาจตาม
กฎหมาย

19) แถบบันทึกเสียง การประชุมของส่วนราชการ ถือเป็นหนังสือราชการหรือไม่ ชนิดใด
1.ถือเป็นหนังสือภายใน 2.ถือเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์
3.ถือเป็นหนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้น หรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
4.ถือเป็นวัสดุประชาสัมพันธ์ 5.ไม่ถือเป็นหนังสือราชการ
20) ภาพถ่าย การปฏิบัติงานตามโครงการของส่วนราชการ ถือเป็นหนังสือราชการหรือไม่ ชนิดใด
1.ถือเป็นหนังสือภายใน 2.ถือเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์
3.ถือเป็นหนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้น หรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
4.ถือเป็นวัสดุประชาสัมพันธ์ 5.ไม่ถือเป็นหนังสือราชการ
21) ข้อใดถูกต้อง
1.งบประมาณรายจ่ายแผ่นดินทำเป็นพระราชกฤษฎีกา
2.งบประมาณรายจ่ายแผ่นดินทำเป็นพระราชกำหนด
3.งบประมาณรายจ่ายแผ่นดินทำเป็นพระราชบัญญัติ
4.งบประมาณรายจ่ายแผ่นดินทำเป็นพระราชบัญญัติ ถ้าออกไม่ทันปีงบประมาณใหม่ให้ใช้งบประมาณของปี
ก่อนไปพลาง
5.งบประมาณรายจ่ายแผ่นดินทำเป็นพระราชกฤษฎีกา ถ้าออกไม่ทันปีงบประมาณใหม่ให้ออกเป็นพระราช
กำหนดให้ไปพลาง
22) คำว่า “ ลายมือชื่อ ” ตามประมวลกฎหมายอาญาหมายถึง
1.การลงรายมือชื่อเท่านั้น 2.การพิมพ์ลายพิมพ์นิ้วมือเท่านั้น
3.การลงรายมือชื่อ ลายพิมพ์นิ้วมือ 4. .การลงรายมือชื่อ ลายพิมพ์นิ้วมือ เครื่องหมายซึ่งบุคคลลงไว้แทนรายมือชื่อ
5.ลายเซ็นชื่อ ลายพิมพ์หัวนิ้วมือ
23.) นายดำรงเกิดที่อำเภอเมืองนครปฐมไปรับราชการมีถิ่นที่อยู่ที่อำเภอเมืองราชบุรี ได้กระทำความผิดที่อำเภอเมืองปราจีนบุรี แล้วหลบหรีไป ต่อมาถูกจับกุมได้ที่อำเภอเมืองสระแก้ว การสอบสวนคดีนี้โดยปกติ
1.พนักงานสอบสวนอำเภอเมืองราชบุรี อำเภอเมืองปราจีนบุรี มีอำนาจสอบสวน และพนักงานสอบสวนอำเภอเมืองสระแก้วเป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
2.พนักงานสอบสวนอำเภอเมืองราชบุรี อำเภอเมืองสระแก้ว มีอำนาจสอบสวน และพนักงานสอบสวนอำเภอเมืองปราจีนบุรีเป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
3.พนักงานสอบสวนอำเภอเมืองนครปฐม อำเภอเมืองราชบุรี อำเภอเมืองปราจีนบุรี อำเภอเมืองสระแก้วมีอำนาจสอบสวน และ เป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ 
4.พนักงานสอบสวนอำเภอเมืองปราจีนบุรี มีอำนาจสอบสวน และ เป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ 
5.พนักงานสอบสวน อำเภอเมืองสระแก้ว มีอำนาจสอบสวน และ เป็นพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
24) เมื่อมีคดีความผิดตามกฏหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเกิดขึ้นในท้องที่ใดให้พนักงานสอบสวนรีบแจ้งนายอำเภอท้องที่ภายใน
1. 24 ชั่วโมง และรวบรวมให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน 2. 24 ชั่วโมง และรวบรวมให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน
3. 48 ชั่วโมง และรวบรวมให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน 4. 48 ชั่วโมง และรวบรวมให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน
5. 48 ชั่วโมง และรวบรวมให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน
25) นายชาติชายเป็นนายอำเภอเมือง เมื่อได้รับแจ้งจากพนักงานสอบสวนฝ่ายตำรวจว่า มีการกระทำความผิดตามกฏหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในท้องที่
1.นายชาติ ต้องตั้งพนักงานสอบสวนฝ่ายปกครองเข้าร่วมทุกคดี
2.นายชาติชายใช้ดุลพินิจ จะตั้งพนักงานสอบสวนฝ่ายปกครองเข้าร่วมสอบสวนก็ได้ไม่เข้าร่วมสอบสวนก็ได้
3.นายชาติชายต้องเข้าควบคุมการสอบสวน
4.ให้พนักงานสอบสวนฝ่ายตำรวจสอบสวนฝ่ายเดียวไปก่อนแต่ถ้านายชาติชายเห็นสมควรมีอำนาจเข้าควบคุมการสอบสวนได้
5.พนักงานสอบสวนฝ่ายตำรวจสอบสวนฝ่ายเดียวไปก่อนแต่ถ้านายชาติชายเห็นสมควรมีอำนาจเปลี่ยนตัวพนักงานสอบสวนได้ และนายชาติชายต้องเป็นหัวหน้าพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
26) นายรินเป็นปลัดอำเภอ ไวหน้าประจำกิ่งอำเภอ เมื่อมีคดีความผิดตามกฏหมายว่าด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเกิดขึ้นในท้องที่
1.นายริน ต้องรายงานนายอำเภอให้พิจารณาเข้าควบคุมการสอบสวนทุกคดี
2.นายริน เข้าควบคุมสอบสวนได้ แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด
3.นายริน มรอำนาจเกี่ยวกับดูแลเร่งรัดคดีให้เป็นไปในทางที่ชอบและเหมาะสมรส
4.นายริน มีอำนาจสั่งการเข้าควบคุมการสอบสวนได้เฉพาะคดีที่มีพนักงาน ฝ่ายปกครองจับกุม หรือเข้าร่วมจับกุม และเป็นหัวหน้าพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
5.นายริน มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานสอบสวนฝ่ายปกครองเข้าร่วมสอบสวน และเป็นหัวหน้าพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบได้
27) คดีความผิดตามกฏหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งได้เกิดในกรุงเทพมหานคร
1.ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มีอำนาจขยายกำหนดระยะเวลาการสอบสวนได้
2.ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มีอำนาจขยายกำหนดระยะเวลาการสอบสวนและสั่งเปลี่ยนตัวพนักงานสอบสวนได้
3.ปลัดกระทรวงมหาดไทย มีอำนาจขยายกำหนดระยะเวลาการสอบสวนได้
4.ปลัดกระทรวงมหาดไทย มีอำนาจขยายกำหนดระยะเวลาการสอบสวนได้และถ้าเห็นสมควรมีอำนาจ
เปลี่ยนตัวพนักงานสอบสวนได้
5.ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและปลัดกระทรวงมหาดไทย ไม่มีอำนาจใดๆ เนื่องจากไม่ได้เป็นพนักงานสอบสวนในเขตกรุงเทพมหานครตามประมวลกฏหมายวิธีพิจารณาความอาญา
28) การคัดค้านการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎร ในกรณีที่ผู้สมัครใช้จ่ายเกี่ยวกับการเลือกตั้งเกินกว่าที่คระกรรมการ การเลือกตั้งกำหนดเป็นการเลือกตั้งมิชอบ ต้องยื่นคำร้องคัดค้าน
1.ภายใน 30 วัน นับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้ง ต่อศาลจังหวัดและให้ศาลจังหวัดเป็นผู้มีคำสั่ง
2.ภายใน 30 วัน นับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้ง ต่อศาลจังหวัดและให้ศาลฏีกาเป็นผู้มีคำสั่ง
3.ภายใน 120 วันนับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้ง เพื่อให้มีการเลือกตั้งใหม่
4.ภายใน 120 วันนับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้ง ต่อศาลจังหวัดหรือศาลแพ่ง และให้ศาลฏีกาเป็นผู้มีคำสั่ง
5.ตามกำหนดอายุความต่อผู้ว่าราชการจังหวัด และให้ศาลฏีกาเป็นผู้มีคำสั่ง
29) โทษทางอาญา ได้แก่
1.ประหารชีวิต จำคุก กักขัง กักกัน ปรับ 2.ประหารชีวิต จำคุก กักขัง กักกัน ปรับ ริบทรัพย์สิน
3.ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์สิน 4.ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์สิน ชดเชยค่าใช้จ่าย
5.ประหารชีวิต จำคุก กักขัง กักกัน ปรับ ริบทรัพย์สิน ชดเชยค่าใช้จ่าย
30) ข้อใดถูกต้องที่สุด
1.การกระทำเพื่อป้องกันพอสมควรแก่เหตุตามกฏหมายถือว่าไม่มีความผิด ผู้กระทำไม่ต้องรับโทษ
2.การกระทำเพื่อป้องกันพอสมควรแก่เหตุตามกฏหมายถือว่ามีความผิด ผู้กระทำไม่ต้องรับโทษ
3.การกระทำเพื่อป้องกันพอสมควรแก่เหตุตามกฏหมายถือว่ามีความผิด แต่ศาลจะลงโทษผู้กระทำน้อยเพียงใดก็ได้
4.การกระทำเพื่อป้องกันพอสมควรแก่เหตุตามกฏหมายถือว่ามีความผิด แต่ศาลจะลงโทษเพียงกึ่งหนึ่ง
31) ข้อใดถูกต้อง
1.ปลัดกระทรวง รองปลัดกระทรวง ผู้ช่วยปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่
2.ปลัดจังหวัด นายอำเภอ ผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่
3.สรรพสามิต เมื่อจับกุมผู้ลักลอยต้มกลั่นสุราเถื่อน ถือเป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ
4.ป่าไม้จังหวัด เมื่อจับกุมผู้ลักลอบตัดไม้ทำลายป่า เป็นพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ 5.ถูกทุกข้อ



32) ความผิดลหุโทษ มีอัตราโทษ
1.จำคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
2.จำคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
3.จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
4.จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 2, 000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
5.ไม่มีข้อใดถูก
33) คำว่า “ อันตรายสาหัส” ตามประมวลกฏหมายอาญา คือ
1.ตาบอด หูหนวก ลิ้นขาด 2.เสียแขน ขา มือ
3.ทุพพลภาพเกินกว่า 15 วัน 4.ข้อ 1.และ 2. 5.ถูกทุกข้อ
34) นาย กาน เป็นผู้เยาว์อายุ 16 ปี ทำพินัยกรรมโดยไม่ได้รับความยินยอมจากนาย ขาล ซึ่งเป็นผู้แทนโดยชอบธรรพินัยกรรมนั้นจะมีผลตามกฏหมายอย่างไร
1.สมบุร 2.เสียเปล่า 3.เป็นโมฆะ 4.เป็นโมฆียะ 5.ผู้แทนโดยชอบธรรมบอกเลิกได้
35) สินส่วนตัว ได้แก่
1.ของหมั้น 2.ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส
3.ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยทางมรดก
4.ข้อ 1.และ 2. 5.ถูกทุกข้อ
36) พินัยกรรมมีกี่ประเภทตามประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์
1. 4 ประเภท 2. 5 ประเภท 3. 6 ประเภท 4. 7 ประเภท 5. 8 ประเภท
37) ข้อใดถูกต้อง
1.สำนักงานเลขานุการคณะรัฐมนตรี เป็นทบวงการเมือง สำนักงานปลัดกระทรวงเป็นนิติบุคคล
2.กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เป็นทบวงการเมือง ทบวงมหาวิทยาลัยเป็นนิติบุคคล
3.จังหวัด อำเภอ เป็นทบวงการเมือง เทศบาลเป็นนิติบุคคล
4.สมาคม มูลนิธิ เป็นทบวงการเมือง วัดเป็นมูลนิธิ
5.ถูกทุกข้อ
38) ทายาทโดยธรรมลำดับแรก ตามประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์คือ
1.บิดามารดา 2.คู่สมรส 3.ลูก หลาน เหลน ลื้อ 4.ปู่ ย่า ตา ยาย 5.ปู่ ย่า ตา ยาย บิดามารดา
39) ข้อใดถูกต้อง
1.การกู้ยืมเงินเกินกว่า 50 บาทขึ้นไปต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือและห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยเกินร้อยละ 50 ต่อปี
2.การกู้ยืมเงินเกินกว่า 50 บาทขึ้นไปต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ให้ยืมจึงจะพิจารณาให้บังคับคดีได้
3.การกู้ยืมเงินเกินกว่า 50 บาทขึ้นไปต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ยืมจึงจะฟ้องร้องบังคับคดีได้
4.การกู้ยืมเงินเกินกว่า 50 บาทขึ้นไปต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ยืมและผู้ให้ยืมทั้ง 2 ฝ่ายจึงจะฟ้องร้องบังคับคดีได้

40) การแก้ไขเพิ่มเติมกฏหมายรัฐธรรมนูญในวาระที่สาม ต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบจำนวนเท่าใด
1.ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
2.เกินกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
3.ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกรับสภา
4.เกินกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกรับสภา
5.มากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิวุฒิสภาที่มีอยุ่
41) ข้อใดถูกต้อง
1.วุฒิสมาชิกมีจำนวน 200 คน และต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 40 ปีบริบูรณ์
2.วุฒิสมาชิกมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง
3.วุฒิสมาชิกมีสิทธิเข้าเสนอชื่อญัตติขออภิปรายทั่วไป เพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงได้
4.วุฒิสมาชิกต้องพ้นจากสมาชิกภาพเมื่อสภาผู้แทนราษฎรถูกยุบ
5.วุฒิสมาชิกมีสิทธิลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาลในการเปิดประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ
42) นายทะเบียนพรรคการเมือง คือ
1.ผู้อำนวยการกองการเลือกตั้ง กรมการปกครอง
2.หัวหน้าสำนักงานนายทะเบียนพรรคการเมือง สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
3.อธิบดี กรมการปกครอง 4.ผู้ว่าราชการจังหวัด 5.ประธานกรรมการเลือกตั้ง 
43) คณะผู้ริเริ่มจัดตั้งพรรคการเมือง ต้องมีจำนวนอย่างน้อย
1. 10 คน 2. 15 คน 3. 50 คน 4. 5,000 คน 5.ไม่จำกัดจำนวน
44) ความผิดลหุโทษ
1.ผู้กระทำไม่มีเจตนาก็มีความผิด 2.ผู้ใดพยายามกระทำความผิดลหุโทษ ผู้นั้นไม่ต้องรับผิด
3.ผู้สนับสนุนในความผิดลหุโทษไม่ต้องรับโทษ 4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูก
45) ข้อใดถูกต้อง
1.ศาลเป็นผู้มีอำนาจออกหมายจับ
2.พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ พนักงานอัยการและศาล เป็นผู้มีอำนาจออกหมายจับ
3.พนักงานสอบสวนมีอำนาจออกหมายจับ
4.พนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการเป็นผู้มีอำนาจออกหมายจับ
5.พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ และศาล ผู้มีอำนาจออกหมายจับ
46) ห้ามผู้ไม่มีสัญชาติไทยเข้าไปมีส่วนช่วยเหลือในการเลือกตั้งที่จะ
1.เป็นคูณแก่ผู้สมัครและพรรคการเมืองใด
2.เป็นโทษแก่ผู้สมัครและพรรคการเมืองใด
3.เป็นคุณหรือโทษแก่ผู้สมัครและพรรคการเมืองใด
4.เป็นคุณหรือโทษแก่ผู้สมัครและพรรคการเมือง เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือราชการ
5.เป็นคุณหรือโทษแก่ผู้สมัครและพรรคการเมือง เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือราชการหรือประกอบอาชีพโดยสุจริต
47) พรรคการเมืองต้องเลิกเมื่อ
1.ส่งสมชิกสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งทั่วไปไม่ถึง 150 คน2.ส่งสมชิกสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งทั่วไปไม่ถึง 180 คน
3.ส่งสมชิกสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งทั่วไปไม่ถึง 120 คน
4.มีจำนวนสมาชิกเหลือไม่ถึง 50 คน 5.ไม่มีข้อใดถูก
48) การยุบสภาเพื่อให้มีการเลือกตั้งใหม่ กระทำโดย
1.นายกรัฐมนตรีประกาศยุบสภา 2.ประธานสภาผู้แทนราษฎรประกาศยุบสภา
3.ประธานรัฐสภาประกาศยุบสภา 4.ตราพระราชกฤษฎีกา 5.ตราพระราชบัญญัติ
49) ข้อใดถูกต้อง
1.สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจำทั่วไปของสำนักนายกรัฐมนตรี
2.สำนักนายกรัฐมนตรีฐานะเป็นนิติบุคคล
3.สำนักนายกรัฐมนตรีมีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับราชการ
4.การจัดตั้งหรือยุบสำนักนายกรัฐมนตรี ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ 5.ถูกทุกข้อ
50) ในการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงมหาดไทย มีรองปลัดกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการกี่คนและมีผู้ช่วยปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการด้วยกี่คน
1.รองปลัดกระทรวง 4 คน ผู้ช่วย 2 คน
2.รองปลัดกระทรวง 5 คน ผู้ช่วย 3 คน
3.รองปลัดกระทรวง 6 คน ผ้ช่วย 4 คน
4.รองปลัดกระทรวง 7 คน ผ้ช่วย 4 คน
5.ไม่มีข้อใดถูก
51) ตามพระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2536 แบ่งส่วนราชการกรมการปกครอง ในราชการบริหารส่วนกลางออกเป็นกี่สำนัก
1. 3 สำนัก 2. 4 สำนัก 3. 5 สำนัก 4. 6 สำนัก 5. ไม่มีข้อใดถูก
52) ข้อใดผิด
1.นายกรัฐมนตรีอาจมอบอำนาจให้รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างๆ และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
2.อธิบดีและผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่ามอบอำนาจให้รองอธิบดี ผู้อำนวยการกอง
3.ปลัดกระทรวงมอบอาจมอบอำนาจให้รองปลัดกระทรวง ผู้ช่วยปลัดกระทรวง อธิบดี หรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
4.ปลัดทบวงอาจมอบอำนาจให้รองปลัดทบวง อธิบดี หรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่าหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
5.นายอำเภออาจมอบอำนาจให้ปลัดอำเภอ หรือหัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอ
53) ข้อใดถูกต้อง
1.การตั้ง ยุบ และการเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
2.การตั้ง ยุบ และการเปลี่ยนแปลงเขตอำเภอให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ
3.การตั้ง ยุบ และการเปลี่ยนแปลงเขตกิ่งอำเภอให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ
4.การตั้ง ยุบ และการเปลี่ยนแปลงเขตตำบลและหมู่บ้านให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
5.ไม่มีข้อใดถูก
54) ข้อใดไม่ใช่รูปแบบและวิธีการของการควบคุมงาน
1.การรายงาน 2.การตรวจงานหรือการตรวจราชการ 3.การตรวจสอบ
4.ระบบงบประมาณกับโครงการหรือแผนงาน 5.การวางแผนกำลังคน
55) ส่วนราชการมิได้มีฐานะเป็นกรม
1.สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 2.สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
3.สำนักอำนวยการอาสารักษาดินแดน 4.สำนักนายกรัฐมนตรี 5.ข้อ3. และ 4.
56) ข้อใดมิใช่คุณสมบัติของผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือน
1.ผู้ดำรงตำแหน่งข้าราชการการเมือง 2.มีสัญชาติไทย
3.ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย 4.มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี
5.เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยด้วยความบริสุทธิ์ใจ
57) ผู้ที่กำหนดวัน เวลาทำงาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจำปี และการลาหยุดราชการของข้าราชการพลเรือนคือ
1.สภาผู้แทนราษฎร 2.ก.พ. 3.สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
4.คณะรัฐมนตรี 5.อ.ก.พ. กระทรวง
58) ข้อใดไม่ใช่โทษทางวินัย
1.ไล่ออก 2.ให้ออก 3.ภาคทัณฑ์ 4.ตัดเงินเดือน 5.ลดขั้นเงินเดือน
59) ข้าราชการพลเรือนสามัญออกจากราชการเมื่อ
1.พ้นจากราชการตามกฏหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
2.ตาย 3.ได้รับอนุญาตให้ลาออกจากราชการ
4.ถูกสั่งลงโทษปลดออก 5.ถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือไล่ออก
60) การอุทธรณ์คำสั่งลงโทษ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรือลดขั้นเงินเดือน ให้อุทธรณืได้ภายในกี่วันนับแต่วันทราบคำสั่ง
1. 15 วัน 2. 20 วัน 3. 25 วัน 4. 30 วัน 5. ไม่มีข้อใดถูก
61) ประธาน อ.ก.พ. จังหวัด คือ
1.ประธานสภาจังหวัด 2.นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
3.รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย 4.ผู้ว่าราชการจังหวัด 5.ไม่มีข้อใดถูก
62) ทีทำการปกครองอำเภอ มีอำนาจหน้าที่
1.ดำเนินงานเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของกรมในเขตพื้นที่อำเภอ
2.ดำเนินงานตามอำเภอหน้าที่ของสำนักงานอำเภอ
3.ดำเนินเกี่ยวกับราชการอื่นที่มิใช่ของส่วนราชการใด ตามที่ได้รับมอบหมาย
4.ข้อ 1. และ 2. 5.ถูกทุกข้อ
63) ข้าราชการพลเรือนสามัญใดภึงแก่ความตายเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ผู้ที่จะเลื่อนขั้นเงินเดือนให้ผู้นั้นเป็นกรณีพิเศษเพื่อประโยชน์ในการคำนวณบำเหน็จบำนาญคือ
1.นายกรัฐมนตรี 2.คณะรัฐมนตรี
3.เลขาธิการ ก.พ. 3.ปลัดกระทรวง 5.อธิบดี
64) “ สนใจประชาชนก่อน แล้วประชาชนจะสนใจท่าน ร่วมมือกับเขาก่อนแล้วเขาจะร่วมมือกับท่านข้อสำคัญอยู่ที่ ต้องให้ประชาชนให้ความร่วมมือในเรื่องใดบ้าง เช่นการเสียภาษี การทะเบียนราษฎร” ท่านจะใช้หลักการอะไรที่จะทำให้ ข้อความข้างต้นสำเร็จตามเป้าหมาย
1.เอกภาพการบังคับบัญชา 2.การประชาสัมพันธ์
3.การปกครองบังคับบัญชา 4.การจัดองค์การ 5.ไม่มีข้อใดถูก
65) ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา เพื่อใช้ในการ
1.ประกอบการพิจารณาแต่งตั้ง 2.เลื่อนขั้นเงินเดือน
3.พัฒนาข้าราชการ 4.เพิ่มพูนประสิทธิภาพในการปฏิบัติข้าราชการ
5.ถูกทุกข้อ
66) สิ่งที่แสดงให้ทราบว่า ผู้บังคับบัญชาคนหนึ่งมีขอบเขตของการรับผิดชอบบังคับบัยชากี่คนหรือมีหน่วยงานอยู่ในความรับผิดชอบบังคับบัญชาอยู่กี่หน่วยงาน เรียกว่า
1.สายการบังคับบัญชา 2.การแบ่งงาน
3.ช่วงการบังคับบัญชา 4.เอกภภาพการบังคับบัญชา 5.การจัดองค์การ
67) แผนอัตรากำลังกรมการปกครองรองที่ 3 เป็นแผนกี่ปี
1. 1 ปี 2. 2 ปี 3. 3 ปี 4. 4 ปี 5. 5 ปี
68) ข้อใดไม่ใชหลักของระบบคุณธรรม
1.หลักความสามารถ 2.หลักความเป็นกลางทางการเมือง
3.หลักความมั่นคงในอาชีพ 4.หลักความยุติธรรม
5.หลักความเสมอภาคในโอกาส

69) ผู้บังคับบัญชาแบบใดที่มีลักษณะให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีเสรีในการวินิจฉัย สั่งการ หรือหันเหในเรื่องราวต่างๆ เป็นไปตามอัธยาศัยส่วนตนเองคอยแต่ผ่านเรื่องหรือลงนามเท่านั้น
1.ผู้นำแบบประชาธิปไตย 2.ผู้นำแบบเสรีนิยม
3.ผู้นำแบบอัตนิยม 4.ผู้นำแบบปล่อยปละละเลย 5.ไม่มีข้อใดถูก
70) สาเหตุสำคัญในเรื่องใดที่ทำให้การบริหารราชการมีลักษณะล่าช้า
1.ต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบอย่างเคร่งครัด 2.ฝ่ายการเมืองอย่ามายุ่งเกี่ยวมากเกินไป
3.การตรวจสอบจากสื่อมวลชน 4.เครื่องมือสื่อสารล้าสมัย
5.ใชระบบคุณธรรมในการบริหารงาน
71) การมอบหมายให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ปกครองบังคับบัญชาข้าราชการทุกกระทรวง ทบวง กรม ในระดับจังหวัดนั้นเป็นลักษณะของการบริหารที่มี
1.การบังคับบัญชาลดหลั่นกัน 2.สายการบังคับบัญชา
3.ช่วงชั้นบังคับบัญชา 4.เอกภาพในการบังคับบัญชา
5.ความรับผิดชอบ
72) ข้อใดต่อไปนี้ช่วยให้การวินิจฉัยสั่งการของผู้บังคับบัญชาเป็นไปอย่างถูกต้องและเป็นผลสำเร็จ
1.รู้ขอบเขตความสามารถของผู้ใต้บังคับบัญชา 2.รู้ปริมาณงานที่มอบให้ทำ
3.การสั่งงานให้ผู้รับคำสั่งเข้าใจและคำนึงถึงระเบียบ กฏหมาย หรืออำนาจที่ให้ไว้ว่ามีอย่างไร
4.ทำงานให้เกิดผลเร็วที่สุดโดยไม่ต้องสำรวจวัสดุหรือเครื่องมือที่ใช้ในการทำงานนั้นๆ
5.ข้อ 1.,2. และ 3. 
73) ข้อใดที่ทำให้การวางแผน ไม่สำเร็จหรือเกิดประโยชน์
1.ขาดข้อมูลที่สำคัญที่ใช้ในการวางแผน 2.ขาดความรู้ทางหลักวิชาการที่เกี่ยวกับวิธีการวางแผน
3.ผู้วางแผนมักไม่ปฏิบัติตามแผน แต่ปฏิบัติตามความเคยชินมากกว่า
4.วัตถุปประสงค์และนโยบายของหน่วยงานแน่นอน ชัดเจน
5.ข้อ 1.,2. และ 3.
74) ข้อใดไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล
1.สำนักนายกรัฐมนตรี 2.ทบวง 3.กรม 4.จังหวัด 5.อำเภอ
75) ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและกำหนดนโยบายของสำนักนายกรัฐมนตรี
1.คณะรัฐมนตรี 2.นายกรัฐมนตรี
3.รองนายกรัฐมนตรี 4.รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 5.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
76) การจัดระเบียบราชการของกระทรวงใดที่ไม่เป็นไปตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
1.กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม 2.กระทรวงต่างประเทศ
3.กระทรวงกลาโหม 4.กระทรวงคมนาคม 
5.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
77) ส่วนราชการใดไม่มีฐานะเป็นกรม
1.สำนักเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2.สำนักปลัดกระทรวงมหาดไทย
3.สำนักงานส่งเสริมงานตุลาการ 4.สำนักงาน ก.พ. 5.ไม่มีข้อใดถูก
78) ผู้ว่าราชการจังหวัดไม่อาจมอบอำนาจให้ใครปฏิบัติราชการแทนได้
1.รองผู้ว่าราชการจังหวัด 2.ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด
3.นายอำเภอ 4.หัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอ
5.หัวหน้าส่วนราชการประจำกิ่งอำเภอ
79) นายอำเภออาจมอบอำนาจให้ใครปฏิบัติราชการแทนได้บ้าง
1.ปลัดอำเภอ 2.เกษตรอำเภอ
3.สาธารณสุขอำเภอ 4.พัฒนาการอำเภอ 5.ถูกทุกข้อ
80) การมอบอำนาจตามมตรา 38 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินกำหนดให้ทำเป็น
1.ลายลักษณ์อักษร 2.หนังสือ
3.คำสั่ง 4.ประกาศ 5.ไม่มีข้อใดถูกต้อง
81) ปัญหา “ชุมชนบ้านครัว” ที่พวกท่านได้ยินกันอยู่บ่อยๆเป็นปัญหาเกี่ยวกับ
1.การส่งเสริมให้ครอบครัวเป็นสุขจนรัฐบาลจัดให้มี วันครอบครัว ขึ้น
2.มีบ้านแล้วต้องมีครัวเพื่อไม่ต้องออกไปรับประทานอาหารนอกบ้านเป็นการประหยัด
3.เป็นปัญหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยจนรัฐบาลจัดให้มี “ปีแห่งการรณรงค์วัฒนธรรมไทย”
4.ปัญหาเกี่ยวกับการเวนคืนที่ดิน ตามโครงการสร้างทางด่วนช่วงที่ 2 ในเขตกรุงเทพ
5.ไม่มีข้อใดถูก
82) ท่านรู้จัก”สมาคมสร้างสรรค์ไทย” (ตาวิเศษ) หรือไม่ว่าเป็นสมาคมที่บำเพ็ญประโยชน์ทางด้านใด
1.ส่งเสริมอุตสาหกรรม 2.ส่งเสริมการท่องเที่ยว
3.สนับสนุนให้มีการค้าเสรี 4.รณรงค์แก้ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5.อนุรักษ์สถาปัตยกรรมไทย
83) ไฟป่าใหม้ป่าที่เรียกว่า “มรดกทางธรรมชาติของโลก”เป็นพื้นที่จำนวนมากคือป่าอะไร
1.ป่าทุ่งแสลงหลวง 2.ป่าระบบห้วยสียัด
3.ป่าเทือกเขาบรรทัด 4.ป่าห้วยขาแข้ง 5.ป่าห้วยหมากแข้ง
84) โครงการ”ทับทิมสยาม 01”เป็นโครงการพระราชดำริของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์วลัยลักษณ์ฯอยู่ในพื้นที่จังหวัดใด
1.ตาก 2.เชียงราย 3.ตราด 4.จันทบุรี 5.กาญจนบุรี
85) สำนักงานอัยการสูงสุดอยู่ในบังคับบัญชาของ
1.คณะกรรมการอัยการ 2.ประธานศาลฎีกา
3.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 4.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
5. นายกรัฐมนตรี
86) สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งแรก เชื่อมกับประเทศไทยที่ใหน
1.อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย 2.อ.เซกา จ.หนองคาย
3.อ.เมือง จ.หนองคาย 4.อ.เมือง จ.นครพนม 5.อ.เมือง จ.มุกดาหาร
87) สะพานแห่งนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่วนใหญ่ในการก่อสร้างจากประเทศใด
1.ฝรั่งเศษ 2.สหรัฐอเมริกา 3.กลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
4.ออสเตรเลีย 5.สหพันธรัฐรัสเซีย
88)ดาวเทียมดวงแรกของไทยชื่อ
1.ทักษิณ 1 2.ชินวัตร 1 3.ปาละป้า 4.ไทยคม 5.แซตเทิลไลท์
89) ประเทศไทยจะดำเนินนโยบายอะไร บางครั้งต้องคำนึง “โลกาภิวัฒน์” ท่านเข้าใจว่าอย่างไร
1.โลกสับเปลี่ยนหมุนเวียนไปตามวัฏจักร 2.โลกนี้มีเกิดมีดับ
3.อนุรักษ์นิยม 4.รู้เขารู้เรา 5.กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก
90)พันธุ์หญ้าชนิดใดที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริให้ปลูกเป็นพืชคลุมดิน
1.ย่านลิเภา 2.หญ้านวลน้อย 3.พืชตระกูลถั่ว
4.หญ้าแฝก 5.หญ้าคา
91) การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่จะบังเกิดผลในทางปฏิบัติ และมีประสิทธิภาพที่สุดควรดำเนินการด้วยวิธีใด
1.เพิ่มจำนวนเจ้าหน้าที่และงบประมาณให้เพียงพอ
2.ให้ประชาชนในท้องถิ่นนั้นๆเห็นความสำคัญ ตระหนัก และเข้ามามีส่วนร่วม
3.เน้นมาตราการทางด้านกฏหมายให้รัดกุม มีบทลงโทษสถานหนัก
4.จัดตั้งมูลนิธิเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5.ตั้งกรรมการให้มากๆ จะแก้ปัญหาได้เอง
92) ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลประกาศให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 เป็นภาษีประเภทใด
1.ภาษีศุลกากร 2.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
3.ภาษีการค้า 4.ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 5.ถูกทุกข้อ
93) สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ หมายถึงพื้นที่รอยต่อของประเทศใดบ้าง
1.ไทย-ลาว-กัมพูชา-เวียดนาม 2.ไทย-พม่า-กัมพูชา-มาเลเซีย
3.ไทย-ลาว-พม่า-จีน 4.ไทย-มาเลเซีย-สิงค์โปร์-จีน
5.ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม-ดานัง
94) กฏหมายที่กำหนดให้มี “ค่าแรงขั้นต่ำ” เป็นความพยายามที่จะสร้างความเสมอภาคทางด้าน
1.การเมือง 2.กฏหมาย 3.โอกาส 4.เศรษฐกิจ 5.สังคม
95) ข้อใดกล่าวถึงความหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจได้ดีที่สุด
1.รายได้ประชาชาติที่แท้จริงเพิ่มขึ้นพร้อมๆกับประชากรเพิ่มขึ้น
2.รายได้ประชาชาติต่อหัวสูงขึ้นกับภาวะเงินเฟ้อมีอัตราสูง
3.รายได้ประชาชาติต่อหัวเพิ่มขึ้นพร้อมกับการกระจายรายได้เท่าเทียมกันมากขึ้น
4.รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้นพร้อมๆกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในอัตราสูง
5.คนรวยก็รวยมากขึ้น คนจนก็จนลงเรื่อย
96)ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร แท้ที่จริงก็คือ
1.เป็นตัวแทนของรัฐบาลกลาง และเป็นข้าราชการส่วนภูมิภาคเช่นเดียวกับผู้ว่าราชการจังหวัดต่างๆอีก 75 จังหวัด
2.เป็นข้าราชการเมือง ขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวงมหาดไทย
3.เป็นข้าราชการเมือง มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีตำแหน่งคล้ายกับนายกรัฐมนตรีเทศบาลนครใหญ่ๆ
4.เป็นข้าราชการเมืองขึ้นกับนายกรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 
5.ข้อ3.และ4.
97) ข้อใดถูกต้อง
1.ประธานรัฐสภารับสนองพระบรมราชโองการโปรดเกล้าผู้นำฝ่ายค้าน
2.คณะรัฐมนตรีจะพ้นจากตำแหน่งทั้งคณะ เมื่อนายกรัฐมนตรีลาออก มีการยุบสภา และรัฐมนตรีลาออก
เกินครึ่ง
3.ผู้นำฝ่ายค้านคนปัจจุบันเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
4.ข้อ1 และ 3 5.ถูกทุกข้อ

98) ข้อใดถูกต้อง
1.ปี พ.ศ. 2537 เป้นปีแห่งการรณรงค์วัฒนธรรมไทย
2.รัฐมนตรีหญิงคนเดียวในรัฐบาลปัจจุบันเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
3.การแข่งขันเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 13 ประเทศไทยจะเป็นเจ้าภาพในปลายปี 2541 จัดที่กรุงเทพมหานคร
4.ข้อ 1 และ 3 5.ถูกทุกข้อ
99) วุมิสมาชิกมีจำนวนเท่าใด
1. 200 คน 2. 270 คน 3. 240 คน 4. 3 ใน 5 ของจำนวส.ส. 5.ไม่มีข้อใดถูก
100) ข้อใดถูกต้อง
1.สมาชิกวุฒิสภาหรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกสภาทั้งสองสภารวมกันไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของสภาทั้งสอง ขอให้เรียกประชุมรัฐสภาเป็นสมัยวิสามัญได้
2.สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขอให้เรียกประชุมรัฐสภาเป็นสมัยวิสามัญได้
3.สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขอให้เรียกประชุมรัฐสภา
เป็นสมัยวิสามัญได้
4.สมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกแต่ละสภาขอให้เรียกประชุมรัฐสภาเป็นสมัยวิสามัญได้
5.สมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกสภาทั้งสองสภารวมกันไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน ทั้งหมดของสภาทั้งสอง ขอให้เรียกประชุมรัฐสภาเป็นสมัยวิสามัญได้




เฉลยชุดที่ 2
1. 1 2. 3 3. 3 4. 1 5. 4
6. 3 7. 5 8. 3 9. 4 10. 4
11. 1 12. 1 13. 3 14. 4 15. 1
16. 4 17. 1 18. 2 19. 3 20. 3
21. 3 22. 4 23. 4 24. 1 25. 4
26. 5 27. 3 28. 3 29. 3 30. 1
31. 5 32. 1 33. 5 34. 1 35. 5
36. 2 37.2 38. 2 39. 3 40. 5
41. 1 42. 4 43. 5 44. 1 45. 1
46.3 47. 4 48. 4 49. 5 50. 4
51. 4 52. 1 53. 5 54. 5 55. 3
56. 1 57. 4 58. 2 59. 5 60. 4
61. 4 62. 5 63. 2 64. 2 65. 5
66. 3 67. 3 68. 4 69. 4 70. 1
71. 1 72. 4 73.- 74. 5 75. 5
76. 3 77. 1 78. 5 79. 5 80. 2
81. 4 82. 4 83.4 84. 3 85. 5
86. 3 87. 4 88.- 89. 5 90. 4
91. 3 92. 3 93. 3 94. 4 95. 3
96. 5 97. 2 98. 4 99. 1 100. 1
--------------********************
แนวข้อสอบปลัดอำเภอ ชุดที่ 3
ตะลุยโจทย์ ปลัดอำเภอ ชุดที่ 3
คำสั่ง : จงเลือกตัวเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1)การจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนท้องที่ห่างไกล อาจทำได้โดย
1.การอนุมัติของนายทะเบียนอำเภอ 2.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยอนุมัติ
3.นายทะเบียนเรียกเก็บค่าธรรมเนียมรายละ 1 บาท
4.ข้อ 1. และ 3. 5.ไม่มีข้อใดถูก
2)คู่สมรสอาจขอจดทะเบียนสมรสได้หลายวิธีดังนี้
1.ยื่นคำร้องให้นายทะเบียนไปจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียน
2.การจดทะเบียนสมรส ร สถานที่สมรสซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนอนุมัติให้มีขึ้น
3.การจดทะเบียนสมรสในท้องที่ห่างไกลโดยการอนุมัติของนายทะเบียนอำเภอ
4.ยื่นคำร้องขอจดทะเบียนสมรสต่อกำนัน 5.ไม่มีข้อใดถูก
3) ผุ้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะจดทะเบียนสมรสนายทะเบียนจะจดทะเบียนให้ต่อเมื่อ
1.บุตรบุญธรรมบรรลุนิติภาวะ 2.มีอายุต่างกันไม่เกิน 20 ปี
3.มีอายุต่างกันไม่เกิน 20 ปีและนายทะเบียนพิจารณาเห็นสมควร
4.มีอายุต่างกันไม่เกิน 25 ปี 
5.นายทะเบียนไม่จดให้เพราะกฏหมายห้ามมิให้สมรสกัน
4) เมื่อได้รับจดทะเบียนสมรสหรือย่าในสำนักทะเบียน นายทะเบียนออกใบสำคัญการจดทะเบียนมอบให้ฝ่ายละฉบับ
และเรียกเก็ยค่าธรรมเนียม
1.ฝ่ายละบับ ฉบับละ 10 บาท 2.ทั้งสองฝ่ายรวมกัน 20 บาท
3.ฝ่ายละ 20 บาท 4.ฝ่ายละ 30 บาท 
5.ไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียม
5)เมื่อชายหญิงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายตกอยู่ในอันตรายใกล้ความตาย และโดยพฤติการณ์ ที่เป็นอยู่ นายทะเบียนไม่สามารถไปจดทะเบียนให้ได้และใกล้ความตาย จะทำคำร้องตามแบบก็ไม่ได้ ผู้นัน้จะต้องขอจดทะเบียนสมรสด้วยวาจาหรือกิริยากได้แต่ต้องร้องต่อบุคคลดังกล่าวข้างล่างนี้ เว้นแต่
1.นายตำรวจซึ่งมียศนายร้อยตรีขึ้นไป 2.หัวหน้าสถานีตำรวจ
3.ข้าราชการระดับ 3 ขึ้นไป 4.บุคคลซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ
5.นายเรือเมื่ออยู่ในเรือเดินทะเล
6) กำนันที่จะรับคำร้องจดทะเบียนสมรสได้ ต้องเป็นผู้ที่ได้รับอนุมัติจากบุคคลต่อไปนี้
1.นายอำเภอ 2.ผู้ว่าราชการจังหวัด
3.อธิบดีกรมการปกครอง 4.ปลัดกระทรวงมหาดไทย
5.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
7) หญิงที่สามีตายหรือการสมรสสิ้นสุดลงด้วยประการอื่นจะทำการสมรสใหม่ได้ต่อเมื่อการสิ้นสุดแห่งการสมรสได้ผ่านพ้นไม่น้อยกว่า
1. 280 วัน 2. 380 วัน 3. 310 วัน 4. 210 วัน 5. 120 วัน
8) ตามเงื่อนไขข้อ 7 เว้นเสียแต่ว่า
1.คลอดบุตรแล้วในระหว่างนั้น 2.สมรสกับคู่สมรสเดิม
3.มีคำสั่งศาลให้สมรสได้ 4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูก
9) ผู้เยาว์จะทำการสมรสแต่ไม่มีผู้มีอำนาจให้ความยินยอมจะทำสมรสได้ผหรือไม่
1.ได้โดยร้องขอต่อศาล 2.ไม่ได้
3.ได้โดยร้องขอต่อนายอำเภอ 4.ได้โดยร้องขอต่อผุ้ว่าราชการจังหวัด
5.ถูกทุกข้อ
10) การให้ความยินยอมกระทำได้
1.ลงรายมื่อในทะเบียนขณะจดสมรส 2.ทำเป็นหนังสือแสดงความยินยอม
3.ยินยอมด้วยวาจาต่อหน้าพยานอย่างน้อย 2 คน
4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูกด
11) การจดทะเบียนสมรสจะต้องเป็นสำนักทะเบียนที่คู่สมรสมีภูมิลำเนาอยู่หรือไม่
1.ตามภูมิลำเนาฝ่ายหยิง 2.ตามภูมิลำเนาฝ่ายชาย
3.ตามภูมิลำเนาฝ่ายชายหรือหญิง 4.จด ณ สำนักทะเบียนใดก็ได้
5.ข้อ 1. และ 2. ถูก
12) การยื่นคำร้องให้นายทะเบียนไปจดนอกสำนักทะเบียน เช่น ภูมิลำเนาอยุ่เขตพระโขนง ให้นายอำเภอไปจดทะเบียนเขตบางกะปิได้หรือไม่
1.ไม่ได้ 2.ได้ 3.แล้วแต่ภูมิลำเนาของผู้จดอยู่ที่ใหน
4.ต้องขออนุญาตผู้ว่าราชการจังหวัด 5.ไม่มีข้อใดถูก
13) กรรีที่คนต่างด้าวเข้าเมืองโดยไม่ชอบด้วยกฏหมาย ร้องขอจดทะเบียนสมรสด้วยกัน สถานทูตต่างประเทศตามสัญชาติของตน ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศไทยดังนี้
1.การสมรสนั้นถีอว่าสมบูรณ์ตามกฏหมายไทย
2.กฏหมายไทยไม่ยอมรับความถูกต้องแห่งการสมรสนั้น 
3.ถ้าต้องการให้สมรสนั้นแปลเป็นภาษาไทยโดยมีคำรับรองถูกต้องจากกกระทรวง
4.ถ้าสถานทูตนั้นมีสัมพันธภาพกับประเทสไทย การสมรสนั้นย่อมมีผลบังคับตาม
5.ไม่มีข้อใดถูกต้อง
14) การจดทะเบียนสมรสจะยื่นคำร้องขอจดทะเบียนต่อกำนันได้หรือไม่
1.ได้ในกรณีที่ท้องที่ที่ผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศยอมให้ยื่นคำร้องต่อกำนันท้องที่ได้
2.ไม่ได้ 2.ได้โดยรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยกำหนด
4.กำนันรับจดทะเบียนสมรสได้ 5.ไม่มีข้อใดถูก 
15) กำนันมีหน้าที่จดทะเบียนสมรสได้หรือไม่
1.ได้ นับแต่วันที่กำหนดคำร้อง 2.ไม่ได้เพียงมีหน้าที่รับคำร้องส่งอำเภอ
3.ได้นับแต่วันที่เป็นสามีภรรยากัน 4.ไม่ได้ต้องไปที่อำเภอ 5.ไม่มีข้อใดถูก
16) การสิ้นสุดแห่งการสมรส คือ
1.ตาย 2.หย่า 3.ศาลพิพากษาให้เพิกถอน
4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูก
17) กรณีหากปรากฏภายหลังว่าการสมรสนั้นมิได้เป็นไปตามเงื่อนไข นายทะเบียนจะดำเนินการอย่างไร
1.นายทะเบียนไม่มีอำนาจเพิกถอนทะเบียนสมรส 2.นายทะเบียนสั่งยกเลิก
3.ทั้งสองฝ่ายต้องตกลงกันว่านายทะเบียนยกเลิก 4.ถูกทุกข้อ
5.ไม่มีข้อใดถูก
18) ชายหญิงที่จะจดทะเบียนสมรสแล้วจะขาดจากการสมรสหรือสิ้นสุดลงด้วยเหตุต่อไปนี้
1.ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งศาลสั่งให้เป็นบุคคลไร้ความสามารถ 2.ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถึงแก่ความตาย
3.ฝ่ายใดฝ่ายหรึ่งถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย 4.ถูกทุกข้อ 
5.ไม่มีข้อใดถูก
19) การหย่ากระทำได้กี่วิธี
1. 2 วิธี 2. 3 วิธี 3. 4 วิธี 4. 5 วิธี 5.ไม่มีข้อใดถูก
20) ชายหญิงที่ได้จดทะเบียนสมรสแล้วจะขาดจากการสมรสหรือการสมรสสิ้นสุดลงด้วยเหตุใดบ้าง
1.ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งถึงแก่กรรม 2.ได้จดทะเบียนการหย่าแล้ว
3.ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการสมรส 4.ถูกทุกข้อ
5.ไม่มีข้อใดถูก
21) การหย่าโดยความยินยอม คู่สมรสจะต้องนำหลักฐานดังต่อไปนี้ไปแสดงต่อนายทะเบียน นายทะเบียนจึงจะรับจดทะเบียนให้
1.ใบสำคัญการสมรส 2.บัตรประจำตัวประชาชน
3.หนังสือข้อตกลงการหย่าซึ่งมีพยานลงลายมือชื่ออย่างน้อย 2 คน
4.ข้อ 1. และ 3. 5.ไม่มีข้อใดถูก
22) เกี่ยวกับการจดทะเบียนหย่าข้อใดถูก
1.การหย่าอาจกระทำได้ 2 วี 2.อาจจดทะเบียนหย่าต่างสำนักทะเบียนได้
3.ถ้าสามีภรรยาไม่ยินยอมหย่า อาจหย่าได้โดยคำพิพากษาของศาล
4.การหย่าโดยความยินยอมให้บิดาเป้นผู้ปกครองบุตร
5.การหย่าโดยคำพิพากษาของศาล ให้ฝ่ายชนะเป็นผู้ปกครองบุตร 
23) นายทะเบียนจะรับจดทะเบียนหย่าโดยไม่มีหนังสือมาแสดงได้หรือไม่
1.ได้ 2.เป็นอำนาจของนายอำเภอ 3.ไม่ได้
4.ไม่ได้เว้นแต่ผู้ว่าราชการจังหวัดอนุญาต 5.ไม่มีข้อใดถูก
24) เมื่อคู่สมรสจดทะเบียนหย่าแล้วต่อมาภายหลังมีความประสงค์จะให้นายทะเบียนบันทึกเพิ่มเติมเกี่ยวกับทรัพย์สินให้นายทะเบียน
1.บันทึกในทะเบียนสมรส ค.ร. 2 
2.บันทึกในสำเนาทะเบียนสมรส ค.ร. 5 ที่เก็บไว้สำนักทะเบียนกลาง
3.บันทึกในทะเบียนหย่า 4.บันทึกในสำเนาทะเบียนหย่า
5.ไม่บันทึกให้
25) ในหนังสือหย่าต้องมีรายการ คือ
1.การเลี้ยงดูบุตร 2.การปกครอง
3.ทรัพย์สิน 4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูก
26) สาเหตุฟ้องหย่า
1.ภริยามีชู้ 2.ทุพพลภาพไม่อาจร่วมประเวณี
3.ถูกศาลสั่งเป็นคนสาบสูญ 4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูก
27) สามีภรรยาที่สมรสก่อนใช้ประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์ ฉบับ 5 การหย่าดำเนินการโดย
1.ไม่ต้องจดทะเบียน 2.จดได้ถ้าประสงค์จะจด
3.ต้องจดทะเบียนสมรสก่อน 4.ถูกทั้ 1. และ 2. 5.ไม่มีข้อใดถูก
28) ข้อความใดต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง
1.การหย่าจะต้องให้ทั้งสองฝ่ายทำหนังสือยินยอมในการหย่าซึ่งมีพยานอย่างน้อย 2 คนไปแสดงด้วย
2.การจดทะเบียนหย่าต้องเสียค่าธรรมเนียม 2 บาท
3.การหย่าจะไปจจดทะเบียนหย่า ณ สำนักทะเบียนอำเภอใดก็ได้
4.ในกรณีคู่หย่าอยู่คนละท้องที่ ก็สามารถจดทะเบียนหย่าต่างสำนักทะเบียนได้
5.สามีจงใจละทิ้งภรรยาเกิน 1 ปี ฟ้องหย่าได้
29) เกณฑ์รับบุตรบุญธรรมตามกฏหมายเป็นดังนี้
1.ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ และมีอายุมากกว่าบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี
2.ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปี และมีอายุมากกว่าบุตรบุญธรรม 15 ปี
3.ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีและมีอายุมากกว่าบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี
4.ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะและบุตรบุญธรรมต้องมีอายุไม่เกิน 15 ปี 
5.ไม่มีข้อใดถูก
30) ในกรณีที่ผู้เป็นบุตรบุญธรรมเป็นผู้เยาว์ผู้รับบุตรบุญธรรมจะต้องดำเนินการให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. รับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. 2522 ในต่างจังหวัดให้ยื่นเรื่องและขออนุมัติจาก
1.ผู้ว่าราชการจังหวัด 2.นายอำเภอ
3.นายทะเบียนอำเภอ 4.นายทะเบียนท้องที่ 5.ถูกทุกข้อ
31) ผลที่เกิดจากการรับบุตรบุญธรรม คือ
1.ผู้เป็นบุตรบุญธรรมมีสิทธิ์รับมรดกของผู้รับบุตรบุญธรรม
2.บิดามารดาโยกำเนิดหมดอำนาจปกครอง
3.ผู้เป็นบุตรบุญธรรมมีสิทธิ์รับมรดกบุตรบุญธรรม
4.ข้อ 1. และ 3. 5.ถูกทุกข้อ
32) การเลิกรับบุตรบุญธรรมดำเนินการโดย
1.จดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมโดยความยินยอมทั้งสองฝ่าย 2.คำพิพากษาของศาล
3.ไม่อาจยกเลิก 4.ข้อ 1 และ 2. 5.ถูกทุกข้อ
33) นายกฤติน อายุ 35 ปี มีภรรยาแล้ว มาขอจดทะเบียนรับ น.ส. จิรวรรณ อายุ 22 ปี เป็นบุตรบุญธรรม ถ้าท่านเป็นเจ้าหน้าที่จะดำเนินการตามข้อใดจึงจะถูกต้องที่สุด
1.รับจดทะเบียนบุตรบุญธรรมให้ 2.ให้ภรรยานายกฤตินแสดงความยินยอมก่อน
3.ต้องให้บิดามารดาของ น.ส. จิรวรรณยินยอมก่อนจึงจะจดทะเบียนให้
4.ข้อ 1 และ 2. 5.จดทะเบียนให้ไม่ได้เพราะขัดหลักเกณฑ์
34) การเลิกรับบุตรบุญธรรมทำได้กี่วิธี
1. 2 วิธี 2. 3 วิธี 3. 4 วิธี 4. 5 วิธี 5.ไม่มีข้อใดถูก
35) ในการจดทะเบียนเลิกการรับบุตรบุญธรรมคู่สมรสของผู้รับบุตรบุญธรรมซึ่งมิได้เป็นผู้รับบุตรบุญธรรมด้วยสามารถร้องขอจดทะเบียนเลิกการรับบุตรบุญธรรมได้หรือไม่
1.ไม่สามารถร้องขอจดทะเบียนเลิกการรับบุตรบุญธรรมได้
2. ถ้าคู่สมรสซึ่งเป็นผู้รับบุตรบุญธรรมให้ความยินยอม
3.ร้องขอจดทะเบียนเลิกการรับบุตรบุญธรรมได้ กรณีที่คู่สมรสถึงแก่กรรม
4.ข้อ 2.และ 3. 5.ไม่มีข้อใดถูก
36) กรณีผู้เป็นบุตรบุญธรรมบรรลุนิติภาวะแล้ว จะเลิกรับบุตรโดยความตกลงระหว่างผู้รับบุตรบุญธรรมกับบุตรบุญธรรมได้หรือไม่
1.ได้ 2.ต้องได้รับความยินยอมจากบิดามารดาผู้ให้กำเนิด 
3.ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ปกครอง 4.ข้อ 1.และ 2. 5.ไม่มีข้อใดถูก
37) บุตรที่เกิดจากบิดามารดาที่เป็นสามีภรรยากันโดยไม่จดทะเบียนสมรสมีฐานะเป็นที่ชอบด้วยกฏหมายของใคร
1.เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฏหมายของบิดาแต่ฝ่ายเดียว
2.เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฏหมายของมารดาแต่ฝ่ายเดียว
3.เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฏหมายของของทั้งบิดาและมารดา
4.ไม่เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฏหมายของของทั้งบิดาและมารดา 5.ไม่มีข้อใดถูก
38) บุตรที่ไม่ชอบด้วยกฏหมายของบิดาจะเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฏหมายของบิดาก็ต่อเมื่อ
1.เมื่อบิดามารดาได้สมรสกันถูกต้องตามกฏหมาย 2.เมื่อบิดาได้จดทะเบียนรับรองบุตร
3.เมื่อศาลได้พิพากษาว่าเด็กเป็นบุตรโดยชอบกฏหมายของบิดา
4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูก
39) ผู้ใดเป็นผู้รับรองขอจดทะเบียนรับรองบุตรจากนายทะเบียน
1.มารดา 2.บิดา 3.ผู้ปกครอง 4.ตัวบุตรเอง 5.ไม่มีข้อใดถูก
40) การฟ้องคดีให้รับเป็นบุตรมีสาเหตุการฟ้อง ดังนี้
1.เมื่อมีเอกสารของบิดาแสดงว่าเด็กนั้นเป็นบุตรของตน
2.เมื่อมีพฤติการณ์ที่เป็นที่รู้กันทั่วไปตลอดมาว่าเป็นบุตร
3.เมื่อปรากฏในทะเบียนคนเกิดว่าบุคคลนั้นเป็นบิดา
4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูก
41) กรณีที่ผู้ร้องขอจดทะเบียนรับรองบุตรนไม่อาจนำมารดาของบุตรมาให้ความยินยอมได้ดดยอ้างว่า หาตัวไม่พบหรือไม่ทราบที่อยุ่ เช่นนี้ นายทะเบียนจะต้องดำเนินการอย่างไร
1.ไม่รับจดทะเบียน 2.ให้นายทะเบียนส่งหนังสือตามแบบ คร. 10 ไปให้บุตรและมารดาบุตร
3.ให้ผู้ร้องขอประกาศตามหนังสือพิมพ์ภายในกำหนดเวลาที่กฏหมายบัญญัติไว้โดยเสียค่าใช้จ่ายเอง
4.ข้อ 2.และ 3. 5.ไม่มีข้อใดถูก
42) ในกรณีที่ผู้ร้องขอจดทะเบียนรับรองบุตรไม่อาจนำมารดาของเด็กหรือเด็กมาให้ความยินยอมได้ ให้นายทะเบียนแจ้งการขอจดทะเบียนไปยังเด็กและมารดาเด็กภายในกำหนด
1. 60 วัน 2. 50 วัน 3. 40 วัน 4. 30 วัน 5. 20 วัน
43) ในกรณีข้างต้นถ้าบุตรหรือมารดาอยุ่นอกประเทสระยะเวลาประกาศขยายเป็น
1. 60 วัน 2. 120 วัน 3. 180 วัน 4. 360 วัน 5.ไม่มีข้อใดถูก
44) เมื่อมีการจดทะเบียนรับรองบุตรแล้วจะถอนได้หรือไม่
1.ถอนไม่ได้ 2.บุตรร้องขอ 3.มารดาร้องขอ 4.บิดาร้องขอ 5.ข้อ 1.และ 2.
45) การจดทะเบียนรับรองบุตรนอกสำนักทะเบียนโดยผู้ว่าราชการจังหวัดอนุมัติเรียกเก็บค่าธรรมเนียมรายละ
1. 1 บาท 2. 2 บาท 3. 5 บาท 4. 10 บาท 5. 15 บาท
46) การจดทะเบียนรับราองบุตรนอกสำนักทะเบียนท้องที่ห่างไกลเรียกเก็บค่าธรรมเนียมหรือไม่
1.ไม่เรียกเก็บ 2.เรียกเก็บ 10 บาท 3.เรียกเก็บ 1 บาท 
4.นายอำเภอเนอ ผุ้ว่าราชการจังหวัด ยกเว้นค่ะรรมเนียมได้ 5.ไม่มีข้อใดถูก
47) การบันทึกฐานะของภริยาบุคคลที่จะต้องขอให้บันทึกได้ต้องเป็นสามีภรรยาซึ่งสมรสกัน ดังนี้
1.ก่อนการใช้ พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2499 2.ก่อนการใช้ ป.พ.พ. บรรพ 5
3.ตาม พ.ร.บ. ทะเบียนครอบครัว พ.ศ. 2522 4.ตาม พ.ร.บ. จดทะเบียนครอบครัวพ.ศ. 2478
5.ไม่มีข้อใดถูก
48) การบันทึกฐานะภริยาให้บันทึกได้
1.เฉพาะภริยาหลวง 2.ภริยาหลวงและภริยาน้อย 1 คน
3.ภริยาหลวงและภริยาน้อย 2 คน 4.ภริยาหลวงและภริยาน้อยไม่จำกัดจำนวน
5.ภริยาหลวงและภริยาน้อยเฉพาะผู้มายื่นคำร้อง
49) เหตุที่มีการบันทึกฐานะของภริยาน้อยเนื่องจาก
1.มีการสมรสกันก่อนใช้ประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5
2.ใช้สำหรับผู้นับถือศาสนาอิสลาม
3.ใช้เฉพาะผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามเฉพาะใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้
4.ข้อ 1.และ 2. 5.ข้อ 2 และ 3.
50) การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค ประกอบด้วย
1.ภาค จังหวัด อำเภอ 2.จังหวัด อำเภอ กิ่งอำเภอ
3.จังหวัด อำเภอ 4.จังหวัด อำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล กรุงเทพ
5.จังหวัด เทศบาล อำเภอ สุขาภิบาล
51) นายอำเภอสังกัดส่วนราชการใด
1.กรมการปกครอง 2.กรมประชาสงเคราะห์
3.กรมการพัฒนาชุมขน 4.สำนักนายกรัฐมนตรี 5.กระทรวงมหาดไทย
52) การตั้ง ยุบ เปลี่ยนแปลงเขตอำเภอต้องตามเป็นกฏหมายลำดับใด
1.พระราชบัญญัติ 2.พระราชกำหนด
3.พระราชกฤษฎีกา 4.กฏกระทรวง 5.ประกาศะทรวงมหาดไทย
53) ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสำนักงานจังหวัด
1.ผู้ว่าราชการจังหวัด 2.รองผู้ว่าราชการจังหวัด
3.ปลัดอำเภอ 4.หัวหน้าสำนักงานจังหวัด 5.จ่าจังหวัด
54) การตั้ง ยุบ เปลี่ยนแปลงเขตตังหวัดต้องตราเป็นกฏหมายลำดับใด
1.พระราชบัญญัติ 2.พระราชกำหนด
3.พระราชกฤษฎีกา 4.กฏกระทรวง 5.ประกาศะทรวงมหาดไทย
55) ส่วนราชการใดต่อไปนี้ที่ไม่ใช่ส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีกระทรวง หรือ ทบวง
1.ราชบัณฑิตยสถาน 2.สำนักพระราชวัง
3.สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน 4.สำนักงานอัยการสูงสุด 5.ผิดหมดทุกข้อ
56) ผู้ว่าราชการจังหวัดอาจมอบอำนาจให้ผู้ดำรงตำแหน่งต่อไปนี้ปฏิบัติราชการแทนได้ยกเว้นตำแหน่งใด
1.หัวหน้าส่วนาราชการจังหวัด 2.นายอำเภอ
3.ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ 4.ปลัดอำเภอ
5.หัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอ

57) ในกรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอไม่อาจปฏิบัติราชการได้ นายอำเภอมีอำนาจแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งต่อไปนี้
เป็นผู้รักษาราชการแทนได้ยกเว้นตำแหน่งใด
1.ปลัดอำเภอ 2.ไม้อำเภอ
3.ศึกษาธิการอำเภอ 4.สมุห์บัญชีอำเภอ 
5.ผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ(เจ้าพนักงานปกครอง6) 
58) ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบสำนักงานอำเภอ
1.นายอำเภอ 2.ปลัดอำเภอหัวหน้าฝ่ายปกครองและพัฒนา
3.ปลัดอำเภองานสำนักงานอำเภอ 4.ปลัดอำเภองานปกครอง
5.ปลัดอำเภอหัวหน้าฝ่ายกิจการพิเศษ
59) ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันการมอบอำนาจของผู้ดำรงตำแหน่งให้กับผู้ดำรงตำแหน่งรองลงมาปฏิบัติราชการแทนต้องทำอย่างไร
1.เสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติ 2.ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
3.ทำเป็นหนังสือ 4.ทำเป็นหนังสือและประกาศในราชกิจจานุเบกษา
5.มอบหมายด้วยวาจา
60)ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของการปกครองท้องถิ่น
1.มีฐานะเป็นนิติบุคคล 2.มีการเลือกตั้งผู้บริหารหรืองค์กรท้องถิ่น
3.มีงบประมาณของตนเอง 4.อยู่ในความควบคุมดูแลของรัฐ 5.ผิดทุกข้อ
61) สมาชิกสภาเมืองพัทยามีกี่คน
1. 13 คน 2. 14 คน 3. 15. คน 4. 16 คน 5. 17 คน
62) จังหวัดใดที่มีราษฎรเกินกว่า 1,000,000 (หนึ่งล้านคน) มีสมาชิกสภาจังหวัดได้กี่คน
1. 18 คน 2. 24 คน 3. 30 คน 4. 36 คน 5. 40 คน
63) คระกรรมการหมู่บ้านผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในตำแหน่งคราวละกี่ปี
1. 4 ปี 2. 5 ปี 3. 6 ปี 4. 7 ปี 5. 8 ปี
64) แนวคิดใดเป็นพื้นฐานของการปกครองท้องถิ่น
1.Centralization 2.Deconcentration
3.Decentralization 4.Public Administration 5.Local Self – Government
65) แนวคิดใดเป็นพื้นฐานของการปกครองส่วนภูมอภาค
1.Centralization 2.Deconcentration
3.Decentralization 4.Public Administration 5.Local Self – Government
66) ผู้ใดดำรงตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัด
1.ประธานสภาจังหวัด 2.ปลัดจังหวัด
3.นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด 4.เลขานุการจังหวัด
5.สมาชิกสภาจังหวัดที่ได้รับเลือกตั้งจากสภาจังหวัด
67) สุขาภิบาลใดได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นแห่งแรกในประเทศไทย
1.สุขาภิบาลท่าฉลอม 2.สุขาภิบาลพระประแดง
3.สุขาภิบาลกรุงเทพฯ 4.สุขาภิบาลกระทุ่มแบน 5.สุขาภิบาลปากเกร็ด

68) สุขาภิบาลที่มีรายได้จริง(ไม่รวมเงินอุดหนุน)จำนวนเท่าใดที่ประธานกรรมการสุขาภิบาลจะมาจากการเลือกตั้ง
1. 1 ล้านบาท 2. 2 ล้านบาท 3. 3 ล้านบาท 
4. 4 ล้านบาท 5. 5 ล้านบาท
69) หลักการปกครองประเทศข้อใดที่เป็นที่มาของการบริหารราชการส่วนภูมิภาคของไทย
1.หลักการกระจายอำนาจ 2.หลักการรวมอำนาจ
3.หลักการแบ่งอำนาจ 4.หลักการมอบอำนาจ
5.หลักการรวมและการมอบอำนาจ
70) การบริหารราชการส่วนกลาง หมายถึง
1.กระทรวง ทบวง กรม 2.กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ
3.กระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร 4.กระทรวง กรม รัฐวิสาหกิจ
5.กระทรวง กรม กรุงเทพมหานคร
71) การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นของไทยในปัจจุบันมี
1. 2 รูป 2. 4 รูป 3. 5 รูป 4. 6 รูป 5. 7 รูป
72) ในปัจจุบันประเทศไทยมีกระทรวง จำนวนเท่าไหร่
1. 11 กระทรวง 1 สำนักนายกรัฐมนตรี 2. 12 กระทรวง 1 สำนักนายกรัฐมนตรี
3. 19 กระทรวง 1 สำนักนายกรัฐมนตรี 4. 14 กระทรวง 1 สำนักนายกรัฐมนตรี
5. 15 กระทรวง 1 สำนักนายกรัฐมนตรี
73) หน่วยงานปกครองท้องถิ่นใดเกิด ขึ้น ก่อนหลังเรียงตามลำดับ
1.เทศบาล สุขาภิบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด กทม. เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนตำบล
2.เทศบาล สุขาภิบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด เมืองพัทยา กทม องค์การบริหารส่วนตำบล
3.สุขาภิบาล เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด เมืองพัทยา กทม องค์การบริหารส่วนตำบล
4.สุขาภิบาล เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด กทม. เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนตำบล
5.ไม่มีข้อใดถูก
74) ข้อใดไม่จัดอยู่ในระเบียบบริหารราชการของกระทรวง ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหาราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
1.สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี 2.สำนักงานปลัดกระทรวง
3.กรมหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น 4.กองหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น
5.ไม่มีข้อใดถูก
75) หน่วยการปกครองท้องถิ่นรูปใด มีพื้นที่ครอบครุมพื้นที่ประเทศมากที่สุด
1.สุขาภิบาล 2.เทศบาล
3.องค์การบริหารส่วนจังหวัด 4.เมืองพัทยา 5.กรุงเทพมหานคร
76) องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ
1.สภาจังหวัด และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด 2.สภาจังหวัด และผู้ว่าราชการจังหวัด
3.สภาจังหวัด และปลัดจังหวัด 4.สภาจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการต่างๆ 5.ผู้ว่าราชการจังหวัด และประธานสภาจังหวัด
77) คระกรรมการสุขาภิบาลทำหน้าที่
1.ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายบริหาร 2.ฝ่ายบริหารแต่ประการเดียว
3.ฝ่ายนิติบัญญัติแต่ประการเดียว 4.ฝ่ายปกครองและฝ่ายนิติบัญญัติ 5.ไม่มีข้อใดถูก
78) ข้อใดไม่ได้เป็นคณะกรรมการสุขาภิบาล
1.นายอำเภอ 2.ผู้ที่ราษฎรเลือกตั้งจำนวน 9 คน
3.กำนันทุกตำบลในเขตสุขาภิบาล 4.ผู้ใหญ่บ้านในเขตสุขาภิบาล
5.ปลัดอำเภอที่ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง 1 คน
79) การแบ่งส่วนราชการของจังหวัด แบ่งเป็น
1.คณะกรรมการจังหวัดและสำนักงานจังหวัด 
2.สำนักงานจังหวัดและส่วนราชการประจำจังหวัด 
3.คณะกรรมการจังหวัดและส่วนราชการประจำจังหวัด 
4.สำนักงานจังหวัด ส่วนราชการประจำจังหวัดและอำเภอต่างๆ
5.คณะกรรมการจังหวัด สำนักงานจังหวัดและส่วนราชการประจำจังหวัด 
80) ข้อใดไม่ถูกต้อง
1.อำเภอมีฐานะเป็นนิติบุคคล 2.การจัดตั้งอำเภอตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
3.อำเภอเป็นหน่วยราชการส่วนภูมิภาค
4.การตั้งอำเภอต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด
5.อำเภอแบ่งส่วนราชการเป็นสำนักงานอำเภอและส่วนราชการประจำอำเภอ
81) ข้อใดไม่ใช่คณะกรรมการสภาตำบล
1.ผู้ใหญ่บ้านในเขตตำบล 2.แพทย์ประจำตำบล
2.สารวัตรกำนัน 4.ผู้ทรงคุณวุฒิจากการเลือกตั้งของราษฎรในหมู่บ้านหมู่บ้านละ 1 คน
5.กำนัน
82)สมาชิกสภาเทศบาลตำบล เมือง และนครมีสมาชิกจำนวน
1. 10, 16, 22 2. 12, 16, 20
3. 12, 18, 24 4. 18, 24, 30 5. 24, 30, 36
83) หน่วยการปกครองท้องถิ่นรูปใดที่มีลักษณะการจัดองค์ประกอบต่างจากข้ออื่น
1.กรุงเทพมหานคร 2.เทศบาล
3.องคืการบริหารส่วนจังหวัด 3.สุขาภิบาล 5.ไม่มีข้อใดถูกต้อง
84) ในประเทศที่มีปัญหาความมั่นคงควรใช้หลักการปกครองใด
1.รวมอำนาจ 2.กระจายอำนาจ
3.แบ่งอำนาจ 4.มอบอำนาจ 5.รวมและกระจายอำนาจ
85) องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีอำนาจในการออก
1.ข้อบังคับจังหวัด 2.ข้อบัญญัติจังหวัด
3.ระเบียบจังหวัด 4.กฏจังหวัด 5.เทศบัญญัติจังหวัด
86) วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งเมืองพัทยา คือ
1.การปกครองสุขาภิบาลเดิมไม่เหมาะกับระดับความเจริญของเมืองพัทยา
2.แก้ปัญหาผังเมือง 3.ส่งเสริมการท่องเที่ยว
4.แก้ปัญหาการควบคุมอาคารและการสาธาณูปโภค 5.ถูกทุกข้อ
87) เทศบาลนคร มีนายกเทศมนตรีและเทศมนตรีรวม
1. 1 คน 2. 3 คน 3. 4 คน 4. 5 คน 5. 6 คน
88) การทะเบียนครอบครัวหมายถึง
1.การทะเบียนที่บันทึกรับรองถึงความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคลในครอบครัว
2.การทะเบียนที่บันทึกรับรองสิทธิที่ได้รับตามกฏหมายระหว่างสามีภรรยา
3.การทะเบียนที่บันทึกรับรองสิทธิที่ได้รับตามกฏหมายระหว่างบิดามารดากับบุตร
4.ข้อ 1. และ 3. 5.ไม่มีข้อใดถูก
89) การปฏิบัติงานด้านทะเบียนครอบครัวในฐานะเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐจำเป็ต้องยึดหลัก
1.กฏหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 2.นโยบายของกระทรวงมหาดไทย
3.พ.ร.บ. จดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. 2478 4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูก
90) ทะเบียนครอบครัว แบ่งออกเป็น
1. 7 ประเภท 2. 10 ประเภท
3. 12 ประเภท 4. 13 ประเภท 5.ไม่มีข้อใดถูก
91) ข้อใดไม่ใช่ทะเบียนครอบครัว
1.ทะเบียนการสมรส 2.ทะเบียนการรับรองบุตรบุญธรรม
3.ทะเบียนชื่อบุคคล 4.ทะเบียนฐานะของภริยา 5.ไม่มีข้อใดถูก
92) การจดทะเบียนใดต่อไปนี้เป็นการจดทะเบียนครอบครัว
1.ทะเบียนรับรองบุตรและการแก้ไขสัญชาติ 2.ทะเบียนรับรองบุตรบุญะรรมและการแก้ไขสัญชาติ
3.การบันทึกฐานะภรรยาและการแก้ไขชื่อสกุล 4.ทะเบียนรับรองบุตรและทะเบียนหย่า
5.ไม่มีข้อใดถูก
93) บุคคลที่จะเป็นพยานตาม พ.ร.บ. จดทะเบียนครอบครัวได้ คือ
1.บุคคลที่หูหนวก 2.บุคคลที่เป็นใบ้
3.บุคคลจักษุบอดทั้งสองข้าง 4.บุคคลที่แขนขาดทั้สองข้าง
5.บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
94) การยื่นคำร้องขอให้นายทะเบียนนอกสำนัก ข้อใดถูก
1.ยื่นคำร้องที่สำนักทะบียนตำบลนั้น
2.ต้องเสียค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนและค่าพาหนะ 250 บาท
3.ผู้ร้องต้องจ่ายเงินค่าพาหนะให้แก่นายทะเบียนเท่าที่จ่ายจริง
4.ข้อ 1.ละ 2. 5.ไม่มีข้อใดถูก
95) การสมรสที่สมบูรณ์ของกฏหมายจะต้อง 
1.ได้มีการจดทะเบียนการสมรส 2.คู่สมรสทั้งสองได้แสดงความยินดีที่จะสมรสกัน
3.คู่สมรสทั้งสองมีคุณสมบัติครบตามเงื่อนไขแห่งการสมรส
4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูก
96) การจดทะเบียนการสมรสนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกล สำนักทะเบียนจะนำเนินการได้ต่อเมื่อ
1.นายทะเบียนอนุมัติให้ดำเนินการได้ 
2.ผู้ว่าราชการจังการจังหวัดประกาศอนุมัติให้นายทะเบียนออกไปดำเนินการได้
3.อำเภอออกโครงการบริการอำเภอเคลื่อนที่
4.นายทะเบียนกลางอนุมัติให้ดำเนินการได้
5.ไม่มีข้อใดถูก
97) ชายหญิงที่ไม่บรรลุนิติภาวะ จะสมรสกันได้ต้องได้รับความยินยอมจาก
1.บิดามารดาในกรณีที่มีบิดามารดา
2.บิดามารดา ในกรณีที่บิดาหรือมารดาตายหรือถูกถอนอำนาจการปกครอง
3.ผู้ปกครองในกรณีที่บิดาและมารดาเป็นบุคคลไร้ความสามารถ
4.ผู้ปกครองในกรณีที่บิดาและมารดาเป็นบุคคลล้มละลาย 5.ถูกทุกข้อ
98 )การร้องขอจดทะเบียนสมรส คู่สมรสอาจดำเนินการได้กี่วิธี
1. 7 วิธี 2. 6 วิธี 3. 5 วิธี 4. 4 วี 5.ไม่มีข้อใดถูก
99) การยื่นคำร้องขอให้นายทะเบียนไปจดทะเบียนนอกสำนักทะเบียน หลักเกณฑ์ข้อใดถูกต้อง
1.ยื่นคำร้องแจ้งความประสงค์ ณ สำนักทะเบียนตำบล 2.ยื่นคำร้องที้สำนักทะเบียนตำบลใดก็ได้
3.เสียค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนรวมทั้งค่าพาหนะนายทะเบียน 250 บาท
4.ผู้ร้องต้องจ่ายค่าพาหนะให้กับนายทะเบียนตามที่จ่ายจริง
5.ไม่มีข้อใดถูกต้อง
100) สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา มีอำนาจเลือกสมาชิกของแต่ละสภาตั้งเป็นคณะกรรมาธิการสามัญและมีอำนาจเลือกบุคคลผู้เป็นสมาชิกหรือมิได้เป็นสมาชิก ตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อกระทำกิจการพิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องใดๆอันอยุ่ในอำนาจหน้าที่ของสภาแล้วรายงานต่อสภา มติตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญดังกล่าว ต้องระบุกิจการหรือเรื่องอย่างไร
1.ไม่ซ้ำหรือซ้อนกัน 2.เป็นเรื่องที่อยู่ในความสนใจ
3.เป็นเรื่องที่ทันเหตุการณ์ 4.ถูกทุกข้อ 5.ไม่มีข้อใดถูกต้อง
เฉลยชุดที่ 3
1. 5 2. 1 3. 5 4. 5 5. 4
6. 5 7. 3 8. 4 9. 1 10. 4
11. 5 12. 1 13. 5 14. 5 15. 4
16. 5 17. 3 18. 4 19. 1 20. 4
21. 4 22. 2 23. 3 24.. 5 25. 4
26. 4 27. 4 28. 2 29. 3 30. 1
31. 4 32. 4 33. 5 34. 1 35. 1
36. 1 37. 2 38.- 39. 2 40. 4
41. 2 42. 1 43. 3 44. 1 45. 1
46. 2 47. 2 48. 5 49. 1 50. 3
51. 5 52. 3 53. 4 54. 1 55. 5
56. 4 57. 5 58. 1 59. 3 60. 5
61. 5 62. 4 63. 2 64. 3 65. 2
66. 3 67. 3 68. 5 69. 3 70. 1
71. 4 72. 3 73. 4 74. 4 75. 3
76. 1 77. 1 78. 4 79. 2 80. 1
81. 3 82. 3 83. 4 84. 1 85. 2
86. 5 87. 4 88. 1 89. 4 90. 1
91. 3 92. 4 93. 4 94. 3 95. 4
96. 2 97. 5 98. 1 99. 4 100. 1
*****************
แนวเทคนิคข้อสอบปลัดอำเภอ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน 1.เมษา 2535 (นายกรักษาการ) 
กรณีการตอบคำตอบที่มีข้อถูกที่สุดให้เลือกตอบข้อที่ถูกที่สุดตามกฏหมายหลัก เช่นตามรัฐธรรมนูญ ระบุไว้ก่อนแล้วรองลงมาเป็น พรบ.
ก.พ. = คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน = 15-17 คน < 5 + 5+5-7 > ( โดยการโปรดเกล้าฯ )



ตำแหน่ง = 5 คน ข้าราชการ = 5 คน = 2 ปี ผู้ทรงคุณวุฒิ = 5 - 7 คน = 2 ปี

- นายก ประธาน - ปลัด, รองปลัด - อธิบดี,เทียบเท่า C.10
- ปลัด คลัง - หัวหน้า , รองหัวหน้าไม่สังกัด - ผู้ชำนาญการระบบราช,จัด 
- ผอ. งบ - หัวหน้า , รองหัวหน้าขึ้นตรงนายก ส่วน,พัฒนาองค์บริหาร
- เลขาเศรษฐกิจสังคม - อธิบดี,ผู้ว่า กฎหมาย (ได้แค่ 3 คน) 
- เลขา กพ. C.10 นั้นยกเว้นขึ้นตรงและไม่สังกัด


อกพ.กระทรวง = 11 คน * อกพ. ตามกฎหมายมี 4 ระดับ
1. กระทรวง
2. ทบวง
ตำแหน่ง = 3 ประธานแต่งตั้ง = 8 3. กรม
4 จังหวัด.
- รมว. ประธาน 1คน - คุณวุฒิ ไม่ต่ำกว่าอธิบดี 3 คน 3 = C.10
- ปลัด รองประธาน 1คน - เลือกจากข้าราชการ C.10 ขึ้นไป 5 คน 5
- ผู้แทน กพ. 1 คน

อกพ. กรม = 11 คน กพ. = 15-17
อกพ.กระทรวง = 11
อกพ.กรม = 11
ตำแหน่ง = 2 ประธานแต่งตั้ง = 9 อกพ.จังหวัด = 11
ภพร = 13
- อธิบดี ประธาน - คุณวุฒิ ไม่ต่ำกว่าผอ. รอง 3 คน = C8
- รองอธิบดีมอบหมาย 1 คน - เลือกจาก ผอ.รองขึ้นไป 6 คน = C8


อกพ.จังหวัด = 11 คน 


ตำแหน่ง = 2 ประธานแต่งตั้ง = 9 

- ผู้ว่า ประธาน - คุณวุฒิไมต่ำกว่า 3 คน = C8
- รองผู้ว่ามอบหมาย 1 คน - เลือก จากหัวหน้าส่วนจังหวั ด 6 คน


กพร.กรรมการพัฒนาระบบราชการ = 13 คน


ตำแหน่ง = 3 ครม.แต่งตั้ง = 10

- นายก / รองมอบหมาย ประธาน - คุณวุฒิ 10 คน = วาระ 4 ปี
- รมต 1 คน * - คุณวุฒิ 3 คน ด้วยการทำงานเต็มเวลา
* - กก.กล. 1 คน

* กพร. ไม่มีฐานะเป็นกรม ขึ้นตรงนายก
มีเลขา กพร. เทียบเท่า อธิบดี

ข้าราชการพลเรือน คือ บุคคล บรรจุ ตามพรบ. รับเงินเดือน กระทรวง ทบวงกรมฝ่ายพลเรือน
ข้าราชการพลเรือน มี 3 ประเภท 1. พลเรือนสามัญ รับเงินเดือนในอัตราสามัญ
2. พลเรือนในพระองค์ ตามกำหนด กรฎ.
3. พลเรือนประจำต่างประเทศ กรณีพิเศษ
ข้าราชการพลเรือน มี 3 ตำแหน่ง 1. ทั่วไป
2. วิชาชีพเฉพาะ , เชี่ยวชาญเฉพาะ ตามกำหนด กรฎ.
3. บริหารระดับสูง , กลาง ตามกำหนด กรฎ.
ข้าราชการพลเรือน มี 11 ระดับ
กพ. จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง

การบรรจุ

- C.11 = รมต ครม. นายกทูลแต่งตั้ง รมต.บรรจุ
- C.10 = ปลัด ครม. นายกทูลแต่งตั้ง ปลัดบรรจุ
- C.9 = ปลัดบรรจุแต่งตั้ง
- C.8 = อธิบดีบรรจุโดยขอปลัด
- C.7 = อธิบดีบรรจุแต่งตั้ง (ส่วนกลาง)
- C.7 = ผู้ว่าบรรจุแต่งตั้ง (ยกเว้นหัวหน้าส่วนประจำจังหวัด)

- โรคที่ห้าม ตาม กฎ กพ. 5 อย่าง = โรคเรื้อน , วัณโรค , โรคเท้าช้าง , ติดยาเสพติด , พิษสุรา
- ออกไปรับราชการ ทหาร ขอกลับ ภายใน 180 วัน นับแต่วันพ้น (ปลด)
- กรณีตำแหน่ง ว่าง หรือ ปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้ และมิได้บัญญัติไว้ในพรบ. แผ่นดินให้กำหนด การรักษาการในตำแหน่ง = พลเรือน
วินัย คือ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือแบบแผนความประพฤติที่กำหนดให้ข้าราชการพึงควบคุมตนเอง และผู้ใต้บังคับ
โทษ 5 สถาน = 1. ภาคทัณฑ์
2. ตัดเงินเดือน ไม่ร้ายแรงโทษตามความเห็นผู้บังคับบัญชา
3. ลดขั้นเงิน * ทัณฑ์บน , ว่ากล่าว 
4. ปลดออก ร้ายแรง ตั้งกรรมการสอบ ไม่ใช้โทษทางวินัย
5. ไล่ออก
การตัดเงินเดือน – ลดขั้น
ระดับ - กอง = 5% - 1 เดือน
- สำนัก = 5% - 2 เดือน
- ผู้ว่า , กรม = 5% - 3 เดือน ลด 1 ขั้น

การอุทธรณ์

คำสั่งต่ำกว่า
- ผู้ว่า อุทธรณ์ อกพ.จังหวัด
- อธิบดี กรม
คำสั่งของ - ผู้ว่า , อธิบดี อกพ. กระทรวง
คำสั่งของ - ปลัด นายก กพ.

* คำสั่งลงโทษ ตัด – ลดเงินเดือน อุทธรณ์ ภายใน 30 วัน นับแต่วันทราบคำสั่ง
* คำสั่งลงโทษ ปลด – ไล่ อุทธรณ์ต่อ กพ. ใน 30 วัน นับแต่วันทราบคำสั่ง
* การร้องทุกข์ กรณีถูกสั่งให้ออกไม่ว่ากรณีใดให้ ร้องทุกข์ ภายใน 30 วัน
* สนง.เลขา รมต ว่าการกระทรวง / ทบวงและสนง.ปลัดกระทรวง / ทบวง ทำหน้าที่ อกพ. กรม.
* C.10 , 11 แต่งตั้ง - ถอดถอนต้องนายกทูลเกล้า
- ตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงกำหนดไว้ = พระราชกฤษฏิกา
- กรณีหน่วยงานเห็นว่า กพ. กำหนดแต่งตั้งไม่เหมาะสม ให้เสนอเรื่องต่อ ครม.
- ผอ.สำนักงบประมาณ C11. เป็นผู้บังคับบัญาหน่วยงานระดับกรม แต่ C11.
- ม. 68 = กำหนดการรักษาการในตำแหน่งไว้
- การโอน ผู้ว่า C10. มาดำรงตำแหน่ง รองอธิบดี C9. = ต้องได้รับอมุมัติจาก ครม.
- กรณีมี มลทิน หรือ มัวหมอง ผู้บังคับบัญชาอาจสั่งให้ออกเพื่อรับบำเหน็จ ฯ
- จรรยาบรรณข้าฯ ระบุไว้แผวพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 8
วุฒิ 200 6 < อายุ 40 > รัฐธรรมนูญ - 2840
คน รวม 
ตรวจแผ่นดิน = 3 6
ตรวจเงิน = 10 6 วุฒิสนอง - วาระเดียว
กก. สิทธิ = 11 6 

40 ปี กกต. = 5 7 วุฒิสนอง = วาระเดียว

45 ปี ปปช = 9 9
ศาลรัฐธรรมนูญ = 15 9 วุฒิสนอง = วาระเดียว
- กก. ศาล ยุติธรรม = 18 
- ศาลปกครอง = 13 คน นายกสนอง
- กพ. = 15-17 คน
- กพร. = 13 คน
- อกพ. = 11 คน
- องค์มนตรี = 19 คน
- แผนกคดีเมือง = 9 คน
- กก. ปฏิบัติปกครอง = 11-15 คน
- กก. ข้อมูลข่าว = 24 คน
- กก. วินิจฉัย = 3 คน
- กก. ศาลยุติธรรม = 15 คน

ไม่ไว้วางใจ รมต. เสียง = 1/5
ไม่ไว้วางใจ นายก เสียง = 2/5
ไม่ไว้วางใจ ครม เสียง = 3/5
- เสอนชื่อ นายก สส. ไม่น้อย = 1/5 /ผู้นำฝ่ายค้านมีเสียง = 1/5
- เห็นชอบตั้งนายก ไม่น้อย = 1/2
- ครม. แถลงนโยบาย = 15 วัน แล้วเลขาครม ,เลขานายก,เศรษฐกิจสังคม,งบประมาณจัดทำแผน เสนอ ครม = 90 วัน 4 ปี
- ประชุมลับ = 1/4
- สภา ครบวาระ เลือกใหม่ = 45 วัน /กรณีว่างเลือกใหม่ 60 วัน สภาผู้แทนครบวาระ = 45 
สภา ฯ - วุฒิครบวาระเลือกใหม่ =30 วัน /กรณีว่างเลือกใหม่ 45 วัน ยุบสภา = 60
- ยุบสภาครบวาระเลือกใหม่ =60 วัน วุฒิสภาครบ = 30
ว่าง = 45 
รัฐธรรมนูญ = 11 ตุลา 2540 ปีที่ 52 ฉบับที่ 16 มี 12 หมวด 336 ม.
- * พรบ. ที่รัฐสภาเห็นชอบแล้ว นายกทูลฯ ภายใน 20 วัน
ผู้สำเร็จราชการ ฯ = ลงนามรับสนอง = ประธานรัฐสภา
= ยุบสภา = วุฒิสภา
- เปิดประชุม ปิด = พรฎ
- เลือก สส. ตราเป็น = พรบ. 
- ผู้นำฝ่ายค้านมีเสียง = 1/5
- วุฒิพิจารณาร่าง ฯ ที่สภา สส. เสนอมา = 60 วัน เกิน 30 วัน/กรณีผ่านสภามาแล้วเห็นชอบ = 20 วัน
ยกร่างผ่าน 180 วัน ได้ทันที
- วุฒิ ฯ มีอำนาจถอดถอน ผู้ดำรงตำแหน่งสูง
- กกต. ครบตามวาระเลือกใหม่ = 45 วัน(อายุ 40 ปี )
- แผนนิติบัญญัติ สน. เลขา นายก + สน. กฤษฎิกา

การรักษาราชการ , การมอบอำนาจ

* ระเบียบการบริหารราชการแผ่นดินระบุไว้ เรื่องการดำเนินการแทนคือ
1. การรักษาราชการแทน
2. การปฏิบัติราชการแทน
* แต่ถ้าตำแหน่งใดไม่มีบัญญัติไว้ใน พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2534 ให้ ใช้คำว่า รักษาการ เช่น
- รักษาการในตำแหน่ง
- หมายเหตุ กรณี ปลัดจังหวัดไม่ได้บัญญัติไว้แต่คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความไว้ให้นายอำเภอรักษาราชการแทน
- การปฏิบัติราชการแทน = การมอบอำนาจในการสั่งการให้ผู้อื่นทำแทนตนโดยทำเป็นหนังสือ
หมายเหตุ การมอบอำนาจให้แล้ว ผู้ที่ได้รับมอบ จะมอบให้คนอื่นโดยพละการไม่ได้ แต่มีข้อกรณียกเว้น ถ้าเจ้าของอำนาจที่แท้จริง เขียนบัญญัติไว้ว่า ให้ผู้ที่ได้รับมอบอำนาจไป อาจมอบอำนาจต่อให้ใคร…………ก็ได้ตามที่เจ้าของอำนาจเขียนไว้
* - กรณี ผู้ว่าได้รับมอบอำนาจมาจากผู้ที่ให้อำนาจ และผู้ว่าต้องการมอบอำนาจนั้นให้รองผู้ว่า กรณีเช่นนี้ ผู้ว่าสามารถมอบให้รองผู้ว่าได้เลย เพียงแต่แจ้งให้ผู้มีอำนาจ(เจ้าของ)ทราบเท่านั้น
- แต่ถ้าผู้ว่าจะมอบให้ปลัดจังหวัด ลงมา ผู้ว่าต้องขออนุมัติจากเจ้าของอำนาจเสียก่อนจึงจะมอบได้
* ผู้ว่าฯ สามารถมอบอำนาจให้ตั้งแต่รองผู้ว่าฯลงมา ปลัดจังหวัด หัวหน้าส่วนจังหวัด นายอำเภอ ปลัดอำเภอหัวหน้ากิ่ง หัวหน้าส่วนอำเภอ ได้ แต่ไม่สามารถให้หัวหน้าส่วนกิ่งได้
- การรักษาราชการแทน กรณี
- ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่ง นายอำเภอ ให้ผู้ว่าแต่งตั้งปลัดอำเภอ หรือหัวหน้าส่วนประจำอำเภอ รักษาราชการแทน
- มีผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอ แต่ไม่อาจปฏิบัติการได้ ให้นายอำเภอแต่งตั้งปลัดอำเภอ หรือหัวหน้าส่วนประจำอำเภอ
- มิได้แต่งตั้งไว้(ผู้ว่าหรือนายอำเภอที่ได้แต่งตั้งไว้) ผู้รักษาราชการแทนไว้ให้ปลัดอำเภอรักษาราชการแทนไว้
สาระสำคัญ
อุดมการณ์ แผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง = - พัฒนาคน
= - พัฒนาชุมชน
= - พัฒนาสังคม
= - พัฒนาหมู่บ้านชนบท
พัฒนาอย่างมีดุลยภาพ = - พัฒนาเศรษฐกิจ (1)
3 ด้าน = - พัฒนาสังคม (2)
= - พัฒนาจิตใจ (3)
- เกษตร ทษฎีใหม่ แบ่งพื้นที่สัดส่วน =30-30-20-20
- S = if Sufficient Economy = เศรษฐกิจพอเพียง (SSE) 
- การแจ้งคำสั่งทางปกครอง แจ้งทางไปรษณีย์ ภายในประเทศ = 7 วัน
- อาคาร ที่อยู่มีคนมากเกินไป =1:3 ตรม.
- การเช่า ไม่ได้กำหนดระยะเวลา = 6 ปี
- การค้น = - ค้นตัวบุคคล
- ค้นสถานที่
- แผนพัฒนาอำเภอ = 3 ประเภท - แผนพัฒนาอำเภอ 5 ปี
- แผนพัฒนาอำเภอ ประจำปี
- แผน ปฏิบัติการ อำเภอประจำปี
- รมว.มท = ผอ.ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนทั่วราชอาณาจักร
- Re – X – Ry ประกาศล้างยาเสพติด = ครั้งที่ 3

คณะกรรมการสถานะการฉุกเฉิน

1. นายก / รองฯ มอบหมาย = ประธาน - มีคณะทั้งหมด รวมประธานด้วย = 19 คน
- เลขาธิการสภาความมั่นคง = เป็นเลขานุการ
- คารวาน แก้จน เริ่ม 1 สิงหาคม 2548
- Smrt crd = เริ่มตามกฏหมาย 1 กันยายน 2548 3 จังหวัดภาคใต้
- โครงการปลัดตำบล = สน. กิจการความมั่นคง ภายใน = ปลัดตำบล = 250 ตำบล 3 จังหวัดใต้

กฎหมาย
กฎหมายต้องเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับ = มีข้อบังคับทั่วไป
1. รัฐธรรมนูญ = พรบ.ประกอบมี 7 ฉบับ
2. พระราชบัญญัติ = กษัตริย์ ตราขึ้น โดยความยินยอมของรัฐสภา พรบ. = ครม./สส = เสนอร่าง
(รัฐสภา = พิจารณา)
กษัตริย์ = ตรา
3. พระราชกำหนด = กษัตริย์ ตราขึ้น โดยคำแนะนำของนายกฯ พรก. = รมต/นายก = เสนอ 
ครม = พิจารณา
กษัตริย์ = ตรา
4. พระราชกฤษฎีกา = กษัตริย์ ตราขึ้น โดยคำแนะนำของ ครม. พรฎ = รมต = เสนอ
ครม = พิจารณา
กษัตริย์ = ตรา 
5. กฎกระทรวง = รมต. ดำเนินการให้เป็นไปตาม พรบ. กฎกระทรวง = รมต = เสนอ ครม = พิจารณา
รมต. = ตรา
6. กฎหมายที่ออกโดยองค์กรท้องถิ่น เทศบัญญัติ, ข้อบัญญัติจังหวัด, ข้อบัญญัติตำบล, ข้อบัญญัติกทม., ข้อบัญญัติพิทยา 
- การใช้กฎหมาย ไม่มีผลย้อนหลัง ยกเว้น - ระบุไว้ในกม. นั้นเองว่าให้มีผลย้อนหลัง
- ไม่แย้งกันขัดรัฐธรรมนูญ
- การพยายามทำผิดและได้รับการยกเว้นโทษ = มี 3 กรณี
1. พยายามทำผิดลหุโทษ
2. กฎหมายบัญญัติไว้ไม่ให้รับโทษ
3. ยับยั้งเสียเอง.
* ระยะเวลารอการลงโทษ = ไม่เกิน 5 ปี
โทษทางอาญา วิธีเพิ่มความปลอดภัย
1. ริบทรัพย์ 1. กักกัน อายุความ จับไม่ได้, ไม่ได้ฟ้อง
2. ปรับ 2. ห้ามเข้าเขต - 20 ปี = ประหาร ,จำตลอด , 40 ปี ขึ้นไป
3. กักขัง 3. เรียกประกันฑันถ์บน - 15 ปี = จำ 7 ปีขึ้นไปแต่ไม่ถึง 20 ปี
4. จำคุก 4. คุมตัวไว้สถานบริการ - 10 ปี = จำ 1-7 ปี 
5. ประหารชีวิต 5. ห้ามประกอบอาชีพ - 5 ปี = จำ 1เดือน – 1 ปี
- 1 ปี = จำ 1 เดือนลงมาหรืออย่างอื่น
* คดียอมความได้ = 3 เดือนรู้เรื่องรู้ตัว
* คดีอุกฉกรรณ์ = จำคุกตั้งแต่ 10ปี ขึ้นไป


- สภาพบุคคล = เริ่มตั้งแต่คลอด ทารก ตาย
- การสิ้นสุดสภาพบุคคล - ตายธรรมชาติ
- ตามตามกฎหมาย = สาบสูญ 1. ธรรมดา = 5 ปี
2. พิเศษ 2 ปี ( สิ้นสุดสงคราม,พาหนะอับปาง, อันตรายชีวิต)
- การบรรลุนิติภาวะ = 20 ปี, สมรส

ผู้เยาว์ = ผู้แทนโดยชอบธรรม
วิกลจริต = คนบ้าแต่ศาลยังไม่ได้สั่ง
คนไร้ความสามารถ = ศาลสั่งให้คนวิกลจริตแล้ว = ผู้อนุบาล ทำแทนทุกเรื่อง
คนเสมือนไร้ความสามารถ = กายพิการ, สุรุ่ยสุร่าย, ติดสุรา = ผู้พิทักษ์ ทำแทนบางเรื่อง



- ภูมิลำเนา = ถิ่นอันบุคคลนั่นมีสถานที่อยู่เป็นแหล่งสำคัญ
- ภูมิลำเนานิติบุคคล = ถิ่นอันเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ - สาขา.
- ทรัพย์แบ่งได้ = แยกออกแล้ว แต่ละส่วนยังได้รูปบริบูรณ์
- ทรัพย์แบ่งไม่ได้ = แยกออกแล้ว เปลี่ยนสภาวะ
* - ทรัพย์นอกพาณิชย์ = ทรัพย์ที่ไม่สามารถยึดถือเอาได้, โอนไม่ได้ เช่น ที่สาธารณะ, สิ่งของที่กฎหมายห้ามโอน, ทรัพย์ให้ครอบ
- ดอกผลนิตินัย = ดอกเบี้ย กำไร ค่าเช่า ลาภอื่น ๆ ที่ได้เป็นครั้งคราว

- นิติกรรม มี 4 ประเภท

1. ต้องทำเป็นหนังสือ = สัญญาเช่า
2. เป็นหนังสือต่อ จนท. = พินัยกรรมฝ่ายเมือง ฯ
3. จดทะเบียนต่อ จนท. = จดทะเบียนห้างฯ = สมรส, หย่า
4. ต้องทำเป็นหนังสือและจดต่อ จนท. = ซื้อขายอสังหาริมทรัพย์

- โมฆะ = ตกเป็นอันเสียเปล่าบังคับไม่ได้
- โมฆะ = นิติกรรมสมบูรณ์จนกว่าจะมีการบอกล้างแล้วจึงจะเสียเปล่า เว้นแต่จะให้ (สัตยาบัน) = การแสดงการยอมรับนิติกรรม 


พรบ. ระเบียบบริหารแผ่นดิน 2534 . แก้ไข ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2546

1. รวมอำนาจ 2. แบ่งอำนาจ 3. กระจายอำนาจ
ส่วนกลาง = นิติบุคคล ส่วนบุคคล ส่วนท้องถิ่น นิติบุคคล
- สำนักนายก - จังหวัด นิติบุคคล - อบจ.
- กระทรวง - อำเภอ - เทศบาล
- ทบวง - สุขาภิบาล
- กรม - พิเศษ< อบต, กทม, พัทยา>

จัดตั้งเป็นพรบ.

1 ส่วนกลาง การจัดตั้ง, รวม โอน สน.นายก เพิ่มอัตราและตำแหน่ง = พรบ.
กระทรวง
รวม โอน ทบวง ไม่เพิ่มอัตราและตำแหน่ง = พรฎ.
เปลี่ยนชื่อ,ยุบ กรม พรฎ.

2. ภูมิภาค - การจัดตั้ง ยุบ เปลี่ยนแปลงเขต จังหวัด จัดตั้ง พรบ. = นิติบุคคล
แบ่งส่วน จว. = 1. สนง, จังหวัด - ผู้ว่าสังกัด สนง.ปลัดมท.
2. ส่วนราชการประจำจังหวัด

- การจัดตั้ง ยุบ เปลี่ยนแปลงเขต อำเภอ จัดตั้ง ตรา พรฎ.
แบ่งส่วน อ. = 1. สนง. อำเภอ – นายอำเภอสังกัดกระทรวงมท. (ตามกฎหมาย) - ปลัดอำเภอ กรมการปกครอง
2. ส่วนราชการประจำอำเภอ

- นายอำเภอมีอำนาจดูแล ที่ชายตลิ่ง ทางน้ำ ทางหลวง ทะเลสาบ
- กรณีมีนายอำเภออยู่ แต่ไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ นายอำเภอมีอำนาจแต่งตั้งคนรักษาการแทนได้
- แต่ถ้าไม่มีคนดำรงตำแหน่งนายอำเภอ ให้เป็นอำนาจของผู้ว่า แต่งตั้งคนรักษาฯแทนนายอำเภอ ไล่เสียงไปตามลำดับตั้งแต่ปลัดอำเภอก่อนลงไป


สำนักนายกรัฐมนตรี นิติบุคคล นายก ตรา พรบ. จัดตั้ง
รองนายกฯ
รมต.

ขึ้นตรานายก กพร. ขึ้น ปลัด สน.นายก
1 - เลขาธิการนายก - สนง. ปลัดฯ
2 - เลขา ครม ตรากรฎ - กรมประชาสัมพันธ์
3 - ข่าวกรอง - สนง.คุ้มครองผู้บริโภค
4 - ความมั่นคง ไม่มีฐานะเป็นกรม
5 - งบประมาณ 
6 - กฤษฎีกา มีเลชาเทียบเท่าอธิบดี
7 - กพ.
8 - เศรษฐกิจสังคม

กระทรวง พรบ.จัดตั้ง นิติบุคคล


สนง. สมต - ไม่มีฐานะเป็นกรม สนง. ปลัด = เป็นกรม กรม/เรียชื่ออื่น
- เลขานุการ รมต. บังคับบัญชา

* กลุ่มภาระกิจ - ส่วนราชการระดับกรม 2 กรม ขึ้นไป
ออกเป็นกฎกระทรวง - มีหัวหน้ากลุ่มเป็น อธิบดีขึ้นไป (โดยส่วนมากจะให้รองปลัดเป็นหัวหน้า)
- ถ้าขึ้นตรงปลัดให้รายงานปลัด
- ถ้าขึ้นตรง รมต. ให้รายงานปลัดด้วย (โดยส่วนมากให้ขึ้นตรงรมต.)
- การแต่งตั้ง C.9 ในภาระกิจ(กลุ่มภาระกิจ)ให้เป็นอำนาจของปลัดหารือกันหัวหน้ากลุ่ม
* ยกเว้นกลุ่มภาระกิจของหระทรวงต่างประเภท ให้ชั้นตรงปลัดและรายงานให้ รมต. อีกทางด้วย




* งานที่ไม่อยู่ในความรับผิดชอบของกองใดกองหนึ่งโดยเฉพาะ ให้เป็นหน้าที่ของ สำนักบริหารการปกครองท้องที่

กรม นิติบุคคล จัดตั้งตรา พรบ.

สังกัดกระทรวง. ไม่สังกัดกระทรวง
กรม กรม
- สนง. เลขานุการกรม = เทียบเท่ากอง 1 - ราชเลขาธิการ
- กองหรือส่วนมีฐานะเทียบเท่า 2 - ราชวัง
3 - สน.พุทธ
4 - สน.โครงการราชดำริ ขึ้นตรง นายก
5 - สน.กก.วิจัย
6 - ราชบัณทิต
7 – ตำรวจแห่งชาติ
8 - ปปง.
9 - อัยการสูงสุด ขึ้นตรง รมว. ยุติธรรม
* เขต ปฏิบัติราชการทางวิชาการ ( มีหัวหน้าเขตรับนโยบายจากกระทรวง ทบวง กรม)
* บริการงานต่างประเทศ = คณะผู้แทน หัวหน้าคณะ 
รองหัวหน้าคณะ ข้าราชการกระทรวงต่างประเทศ





กระทรวงมหาดไทย มี 8 ( 6 รัฐวิสาหกิจ) ส่วนราชการ 
1. สนง. รัฐมนตรี ไม่มีฐานะเป็นกรม
2. สนง.ปลัด = กรม = เทียบเท่ากรม
3. กรมปกครอง
4. กรมพัฒนาชุมชน
5. กรมที่ดิน เป็นกรม
6. กรมป้องกันฯ
7. กรมเขต
8. กรมปกครองท้องถิ่น
7 กรม 1 หน่วยงาน

- ที่ทำการปกครองจังหวัด - กลุ่มปกครองและอำนวยฯ การสอบสวนชันสูตร
3 หน่วย = 1 กลุ่ม - ฝ่ายความมั่นคงจัดระเบียบ , อพป, อส
= 2 ฝ่าย - ฝ่ายการเงินบัญชี
- ที่ทำหารอำเภอ - ฝ่ายบริหารงานปกครอง บริงานทั่วไป -อาวุธปืน
4 ฝ่าย - ฝ่ายอำนวยฯ ธรรม ศูนย์ดำรงธรรม - ผู้มีอิทธิพล
- ฝ่ายทะเบียนบัตร
- ฝ่ายความมั่นคง จัดระเบียบสังคม , ชายแดน อพยภ, อพป , อส

* กรมการปกครอง * - 6 สำนัก
- 5 กอง
= 11 ส่วนราชการ
ส่วนกลาง (สำนัก = 6 สน.) กอง (หน่วยภายใน = 3 หน่วย)
1. สน.สอบสวนฯ ทะเบียนความมั่นคง, จัดระเบียบ 1. สนง.เลขากรม = กอง
2. สน. กิจการมั่นคงภายใน ชุนกลุ่มน้อย 2. กองการเจ้าหน้าที่ บริหารบุคคล
3. สน. บริการทะเบียน งานทะเบียนทั่วไป 3. กองคลัง จัดซื้อ – พัสดุ
4. สน. การปกครองท้องที่ กำนันผู้ใหญ่ - ความยากจน SML 4. กองสื่อสาร สื่อสาร
5. สน. อำนวยการกองรักษาดินแดน อส. 5. กองวิชาณและแผนงาน ทำงบประมาณ
6. วิทยาลัยปกครอง พัฒนาบุคลากร
= 5 สำนัก(1 เทียบเท่าสำนัก) = 4 กอง (1 เทียบเท่ากอง)
= 6 หน่วย (สำนัก) = 5 กอง


* จังหวัด จัดตั้งตรา พรบ. = นิติบุคคล
- ยุบ
- เปลี่ยนแปลง
แบ่งส่วน จว.
1. สนง. จังหวัด - ผู้ว่าสังกัด สนง ปลัด มท. แต่งตั้งผู้ว่า C.10 ต้องทูลเกล้า
- หัวหน้า สนง. จว.
- ปลัดจังหวัด กฎหมายไม่ได้ระบุสังกัดไว้
- รองผู้ว่า/ ผู้ช่วยผู้ว่า สังกัด กระทรวง

2. ส่วนราชการประจำจังหวัด
* คณะกรรมการจังหวัด = ปรึกษาแก่ผู้ว่า
= ให้ความเห็นชอบจัดทำแผน
- ผู้ว่า ประธาน
- รองผู้ว่ามอบหมาย
- ปลัดจังหวัด
- อัยการ
- ผบก.
- หัวหน้าส่วนจังหวัด
- หัวหน้าสำนักงานจังหวัด = เลขา

* อำเภอ จัดตั้ง ยุบ เปลี่ยนแปลงตรา พรฎ.
แบ่งส่วน อภ.
1. สนง. อำเภอ - นายอำเภอกฎหมายระบุกระทรวงมหาดไทย
- ปลัดอำเภอกฎหมายระบุกรมการปกครอง
2. ส่วนราชการประจำอำเภอ

อบต. ประกาศ มท.
- สภา ครบวาระ เลือกใหม่ภายใน 45 วัน / ประชุมครั้งแรกภายใน 15 วัน /ต่อไปไม่เกิน 15 
ยุบสภา เลือกใหม่ภายใน 15 วัน 

- นายก = 1
รอง = 2 คณะบริหาร อบต. = 3 คน * กรณีนายอำเภอไม่เห็นด้วยกับข้องบประมาณ ส่งคืน 
- โทษปรับ 1,000 ร่างให้สภา อบต. ภายใน 15 วัน
- นายอำเภอ ผู้ว่า ส่ง ปลด ยุบ * นายก(ผู้บริหาร ) = ทำแผน พัฒนา อบต. 
วาระ 4 ปี - เป็นนิตุบุคคล
- ผู้บริหารสมาชิกมาจากเลือกตั้ง
ท้องถิ่น - รายได้เป็รของตนเอง
อรบ วาระเลือกใหม่ 45 วัน - มีอิสระในการบริหารภานใต้กฎหมาย
ตามกฎหมาย มี 4 แบบ = อบจ. , เทศบาล, สุขาภิบาล, ตามกฎหมาย(อบต,กทม,พัทยา)

* อบจ. (พ.ศ 2549) กฎหมายกำหนดเพียงว่าให้มีอบจ. ราษฎร ไม่เกิน 500,000 = 24
เกิน 500,000 – 1,000,000 = 30 รอง 2 คน
เกิน 1,000,000 – 1,500,000 = 36
เกิน 1,500,000 – 2,000,000 = 42 รอง 3 คน
เกิน 2,000,000 = 48 รอง 4 คน
โครงสร้าง 1. สภา อบจ. ( 1 + 2 ) = 3
ประธาน รอง
ยุบเลือกใหม่ = 60 วัน
2. นายก อบจ. ที่ปรึกษาได้ 5 คน
- รอง 2 (24,30)
- รอง 3 (36 – 42)
- รอง 4 (48)
* กำหนดโทษปรับได้ไม่เกิน 10,000 / จ. 6 เดือน
- ประชุมครั้งแรก ภายใน 15 วัน
* เทศบาล จัดตั้งโดย ประกาศ มท. * คณะที่ปรึกษาเทศบาล =ปลัด มท.= ประธาน/คณะกรรมการกลาง= รมว.
โครงสร้าง 1. สภาเทศบาล (1 + 1 ) = 2
2. นายก - ตำบล 12 รองนายก (นายกเทศแต่งตั้ง) 2
- เมือง 18 รองนายก (นายกเทศแต่งตั้ง) 3
- นคร 24 รองนายก (นายกเทศแต่งตั้ง) 4 ปรช 50,000 - 
การกำกับ - ผู้ว่าสามารถเสนอ รมว. มท ยุบสภา (ปลด) ได้ / กก.เทศจังหวัด มี 18 คน
เลือกใหม่ภายใน 45 วัน
- ประชุมแรกภายใน 15 วัน สมัยต่อไป 30 วัน ( มีได้ 4 สมัย )

มหาดไทย ดูแลเทศบาลโดยตรง = ตรากฤษฎีกา
เทศบาล ทำงานร่วม
เทศบาล กัน 2 เทศฯ สหการ = ตรากฤษฎีกา 
* พัทยา (2542) = นายก 1 + 4 รอง ฯ = 5

พรบ. ปกครองท้องที่ 2547
บ้าน = บ้าน, แพ เรือที่จอดประจำ
เจ้าบ้าน = เจ้าของ , ผู้เช่า 
หมู่บ้าน = จัดตั้งโดย ประกาศจังหวัด อนุมัติจากมท. 
ตามพรบ. ปกฯ มติครม. 14 พ.ศ.2539
- คน 200 - ชุมชนหนาแน่น = คน 1,200 600 คน (แยกบ้าน = ½ 1200 = 240
- บ้าน 5 บ้าน = บ้าน 240 120 บ้าน
- ชุมชนห่างไกล = คน 600 200 คน 1/3
= บ้าน 120 40 บ้าน (600 = 120 )
- ห่างจากหมู่บ้านเดิมไม่น้อยกว่า 6 กิโลเมตร
ตำบล ประกาศ มท. จัดตั้ง

ตามพรบ. ปกครอง ฯ มติ ครม.
- หมู่บ้านรวมกัน 20 หมู่บ้าน - ชุมชนหนาแน่น = คน 4,800
- กำหนดเขตให้ขัดเจน = มีหมู่บ้าน 8 หมู่บ้าน
- ชุมชนห่างไกล = คน 3,600
= มีหมู่บ้าน 69 หมู่บ้านกระทรวงมหาดไทย มี = 8 ส่วนราชการ
= 7 กรม + 1 เทียบเท่า

กิ่งอำเภอ ประกาศ มท. จัดตั้ง

พรบ. ท้องที่ มติ ครม. 2 พ.ย. 2547
- หลายตำบลรวมกัน - คน 25,000
- มี 4 ตำบล
- ห่างจากอำเภอเดิม 20 กม.
- เห็นชอบ อบต. , หัวหน้าอำเภอ, หัวหน้าจังหวัด
อำเภอ ราชกฤษฎีกา จัดตั้ง

พรบ. ท้องที่ มติ ครม. 2 พ.ย. 2547
- หลายตำบลรวม - เป็นกิ่งมาแล้ว 5 ปี
- พระราชานุญาติ - คน 35,000
- เห็นชอบ อบจ. หัวหน้าจังหวัด 
* จัดตั้งอำเภอ/กิ่ง กรณีพิเศษ = ท่องเที่ยว, ไม่สงบ , ชายแดน, ราชดำริ 

ผู้ใหญ่บ้าน วาระ 5 ปี เป็นตั้งแต่วันเลือก (พญบ. ไม่อยู่ ผู้ช่วยฝ่ายปกครองรักษาการแทน แจ้งกำนัน
- สัญชาติไทยเกิด แล้วให้ผู้ว่าออกหนังสือสำคัญ เกิน 15 วัน แจ้งกำนัน แจ้งอำเภอ
- ไม่ต่ำกว่า 25 ปี
- มีชื่อ 2 ปี
* - เลือกภายใน 15 วัน นับแต่นายอำเภอทราบว่างลง ลับ/เปิดเผย 10.00 –1 5.00 น. ถ้าคะแนนเท่ากันให้ ใช้วิธีจับฉลาก 
- ผู้มีสิทธิเลือก 18 ปี มีชื่อใน 3 เดือน

ผู้ใหญ่บ้านออกจากตำแหน่ง
- หมู่บ้านถูกยุบ
- ไปที่อื่นเกิน 3 เดือน
- ขอให้ออกโดย เสียง ½ ทั้งหมด







ผู้ช่วยผู้ใหญ่


ผู้ช่วยฝ่ายปกครอง วาระ 5 ปี (ออกพร้อมผู้ใหญ่) ฝ่ายรักษาความสงบ วาระ 5 ปี (ออกพร้อมผู้ใหญ่)
- กำนัน + ผู้ใหญ่ร่วมพิจารณาเลือก - กำนัน + ผู้ใหญ่เลือก
- มี 2 คน - มีกี่คนก็ได้ตามผวจ.เห็นควร มท. เห็นสมควร
- เป็นตั้งแต่ นายอำเภอออกหนังสือ - เป็นตั้งแต่นายอำเภอออกหนังสือให้
- ใช้อาวุธปืนได้
************************
ข้อสอบ พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ข้อสอบ พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
1. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มีผลบังคับเมื่อใด (ภายใน 90 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา)
2. ใครเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติข้อมมูลข่าวสารของข้าราชการ พ.ศ. 2540 (นายกรัฐมนตรี)
3. ข้อมูลข่าวสารตามพระราชบัญญัติของราชการที่หากเปิดเผยออกไปแล้วจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ หน่วยงานของรัฐ จะต้องเก็บไว้นานเท่าใด ( 20 ปี)
4. ข้อมูลข่าวสารของทางราชการที่หากเปิดเผยออกไปแล้วจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ หน่วยงานของรัฐจะต้องเก็บไว้อย่างน้อยกี่ปี ( 75 ปี)
5. ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยคำ หรือส่งวัสดุเอกสาร ตามคำสั่งของคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารจะมีโทษอย่างไร หรือไม่ ( มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับไม่เกิน 5,000 บาท)
6. ข้อมูลข่าวสารของราชการต่อไปนี้ ไม่ต้องตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (สัญญาสัมปทาน)
7. ข้อมูลข่าวสารที่เปิดเผยเป็นการเฉพาะ คือ (ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล)
8. ข้อมูลข่าวสารต่อไปนี้ จะต้องตีพิมพ์ลงในราชกิจจานุเบกษา( 1.มติคณะรัฐมนตรี 2.โครงสร้างและการจัดองค์การในการดำเนินงาน 3.สถานที่ที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสาร
9. ข้อมูลข่าวสารที่หน่วยงานของรัฐจะต้องจัดให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ได้แก่ ( 1.มติคณะรัฐมนตรี 2.โครงสร้างและการจัดองค์การในการดำเนินงาน 3. คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่ของเอกชน)
10. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์จะเก็บรักษา จะต้องดำเนินการอย่างไร (มอบให้แก่หอจดหมายเหตุ)
11. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่อยู่ในความดูแลของหน่วยงานของรัฐสามารถกระทำได้หรือไม่ (1.เปิดเผยได้ แต่ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลก่อน 2. เปิดเผยได้ หากข้อมูลนั้นนำไปใช้ประโยชน์การศึกษาวิจัย
12. ข้อมูลข่าวสารราชการหมายถึง (ข้อมูลที่อยู่ในความดูแลของหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเกี่ยวกับรัฐหรือเอกชน
13. พระราชบัญญัตินี้ให้บังคับใช้เมื่อพ้นกำหนดกี่วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ( 90 วัน)
14. เจ้าหน้าที่ของรัฐ หมายถึง ( ผู้ซึ่งปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ)
15. หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยกี่ข้อลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ( 5 ข้อ) 
16. ข้อมูลชนิดใดที่ไม่ใช่ข้อมูลที่ต้องส่งพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติสุขภาพ อาชญากรรม)
17. หน่วยงานราชการจำเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารไว้เอง เพื่อประโยชน์ในการใช้สอยจะต้องตกลงกับหน่วยงานใด ( หอจดหมายเหตุแห่งชาติ)
18. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ที่ไม่ใช่คณะกรรมการโดยตำแหน่ง คือ ( ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี)
19. ใครเป็น คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของข้าราชการ(1.เลขาฯคณะกรรมการกฤษฎีกา 2. เลขาฯสภาผู้แทนราษฎร)
20. ใครเป็นคนแต่งตั้งเลขาฯและผู้ช่วยเลขาฯ ๕ระกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ (ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี)
21. ผู้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารภายในกี่วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่งไม่ยินยอมแก้ไขเปลี่ยนแปลง ( 30 วัน)
22. ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อจำกัด หรือเงื่อนไขที่เจ้าหน้าที่ของรัฐกำหนด ต้องระวางโทษเท่าไหร่ (จำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ)
23. ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ต้องโทษอย่างไร ( จำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
24. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มาจากภาครัฐและภาคเอกชนมีจำนวนกี่คน ( 9 คน )
25. ใครเป็นประธาน ๕ระกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ( เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ)
26. กรณีมีการร้องเรียนต่อคณะกรรมการฯให้พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในกี่วันนับแต่วันที่ได้รับคำร้องเรียน ( 30 วัน)
27. กรณีการเปิดเผยข้อมูลอาจกระทบถึงผลประโยชน์ส่วนได้ส่วนเสียของผู้ใด ให้เจ้าหน้าที่แจ้งผู้นั้นไม่น้อยกว่ากี่วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง ( 15 วัน)
28. บุคคล หมายถึง( บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทยและบุคคลธรรมดาที่ไม่มีสัญชาติไทย แต่มีถิ่นที่อยู่อยู่ในประเทศไทย)
29. ใครเป็นผู้เสนอรายชื่อแต่งตั้ง คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร (คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ)
30. เจ้าหน้าที่ไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารเพราะมีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผยต้องใช้สิทธิอุทธรณ์ภายในกี่วัน( 15 วัน)
31. ประเภทข้อมูลข่าวสารจำแนกได้กี่ประเภท ( 4 ประเภท)
32. สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ตั้งอยู่ในสำนักงานใด (สำนักงานปลัดนายกรัฐมนตรี)
33. กรณีมีเหตุจำเป็นให้ขยายเวลาออกได้ แต่ต้องแสดงเหตุผลและรวมเวลาทั้งหมด แล้วต้องไม่เกินกี่วัน ( 60 วัน)
34. ข้อมูลข่าวสารของราชการใดมีสภาพบุบสลายง่าย และมีผู้ขอข้อมูลดังกล่าวมาจะทำอย่างไร ( อาจจัดทำสำเนาให้ในสภาพอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายแก่ข้อมูล)
35. ผลการพิจารณา หรือคำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชนรวมทั้งความเห็นขัดแย้งและคำสั่งที่เกี่ยวข้องในการพิจารณาวินิจฉัย เป็นข้อมูลแบบใด ( ข้อมูลที่วัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้)
36. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ต้องส่งพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา คือ ( โครงสร้าง และการจัดการในการดำเนินงาน)
37. กำหนดเวลาต้องส่งข้อมูลข่าวสารของทางราชการ (ตาม ม.14) ให้แก่หอจดหมายเหตุแห่งชาติเมื่อครบกี่ปี (75 ปี)
38. กรณี (ตาม ม.15 ) ให้ส่งข้อมูลข่าวสารของราชการให้แก่หอจดหมายเหตุแห่งชาติเมื่อครบกี่ปี (20 ปี)
39. ผู้ใดพบว่าหน่วยงานของรัฐไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารที่ต้องจัดพิมพ์ลงในราชกิจจานุเบกษาสามารถทำการใดได้บ้าง ( ร้องเรียนคณะกรรมการข้อมูลของข่าวสาร)
40. กรณีที่หน่วยงานของรัฐไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูลข่าวสารให้ตรงตามที่มีคำขอให้ผู้นั้นมีสิทธิ ( อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร)
41. คนต่างด้าวมีสิทธิขอเข้าตรวจดูข้อมูลที่เก็บไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ตามที่กำหนดไว้อย่างไร( กฎกระทรวง)
42. กรณีข้อมูลที่ไม่ต้องเปิดเผย กรณีอื่นตามที่กำหนดไว้อย่างไร ( พระราชกฤษฎีกา)

**ข้อสอบคัดเลือกข้าราชการเพื่อเข้าศึกษาโรงเรียนปลัดอำเภอ
ข้อสอบคัดเลือกข้าราชการเพื่อเข้าศึกษาโรงเรียนปลัดอำเภอ
(หลักสูตรเปลี่ยนสายงาน)
ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง ปี 2537
1. ตามพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการ กรมการปกครอง พ.ศ. 2536 ข้อใดมิใช่หน้าที่ ของกรมการปกครอง
ก. การอำนวยการเลือกตั้ง 
ข. การพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ค. การสื่อสารระหว่างจังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน
ง. การจัดการศึกษาท้องถิ่น
จ. การพัฒนาทางหลวงแผ่นดินในพื้นที่จังหวัด อำเภอ
2. ในอำเภอหนึ่งให้มีพนักงานคณะหนึ่งเรียกรวมกันว่ากรมการอำเภอ ประกอบด้วย
ก. นายอำเภอ ปลัดอำเภอ หัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอทุกหน่วยงาน
ข. นายอำเภอ ปลัดอำเภอ หัวหน้าส่วนราชการอำเภอเฉพาะราชการบริหารส่วนภูมิภาค
ค. นายอำเภอ ปลัดอำเภอ สมุห์บัญชีอำเภอ หรือข้าราชการที่สังกัดในกรมสรรพากร
ง. นายอำเภอ หัวหน้าส่วนราชการทุกคน ปลัดอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน.
จ. ถูกทุกข้อ
3. กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอ
ก. นายอำเภอแต่งตั้งปลัดอำเภอรักษาราชการแทน
ข. ปลัดอาวุโสในอำเภอรักษาราชการแทน
ค. หัวหน้าส่วนราชการอาวุโสในอำเภอรักษาราชการแทน
ง. ปลัดอำเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการอาวุโส เป็นผู้รักษาราชการแทน
จ. ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งปลัดอำเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอรักษาราชการแทน
4. นโนบายการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติตามแผนฯ 7 ให้ความสำคัญกับทรัพยากรธรรมชาติประเภทใด
ก. ป่าไม้ ข. ดิน
ค. แร่ ง. ถูกเฉพาะข้อ 1 และ 2
จ. ถูกทั้งข้อ 1, 2 และ 3
5. การปฏิบัติงานของปลัดอำเภอมีฐานะอย่างไร
ก. เป็นผู้ช่วยเหลือนายอำเภอ ข. เป็นตัวแทนนายอำเภอ
ค. เป็นกรมการอำเภอ ง. เป็นข้าราชการได้รับเงินเดือนของรัฐ
จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง

6. การแบ่งส่วนราชการของกรมการปกครองตามพระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการกรมการปกครอง พ.ศ. 2536 กำหนดให้ราชการส่วนภูมิภาคประกอบด้วย
ก. ที่ทำการปกครองจังหวัด ข. ที่ทำการปกครองอำเภอ
ค. ที่ทำการปกครองกิ่งอำเภอ ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข.
จ. ถูกเฉพาะข้อ ก. ข. และ ค.
7. ข้อมูลใดที่ไม่ได้นำมาวางแผนใช้พัฒนาอำเภอ
ก. ลักษณะที่ตั้ง อาณาเขต ภูมิอากาศ และการใช้ประโยชน์ในพื้นที่
ข. การปกครอง ประชากร และแรงงาน
ค. เกษตรกรรม การปศุสัตว์ การประมง การอุตสาหกรรม การพาณิชย์ การบริการ และการท่องเที่ยว
ง. การศึกษา การศาสนา และวัฒนธรรม การสาธารณสุข ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
จ. ไม่มีข้อใดถูก
8. ข้อใดมิใช่นโยบายทั่วไปของกรมการปกครอง พ.ศ. 2535-2539
ก. การปกครอง การบริหารและการเมือง
ข. การรักษาความสงบเรียบร้อยและเสริมสร้างความมั่นคงภายใน
ค. การพัฒนาชนบทและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ง. การพัฒนาสังคม
จ. การขยายประชาธิปไตยสู่ปวงชนชาวไทย
9. เร่งรัดพัฒนาเมืองเป็นศูนย์กลางความเจริญในภูมิภาคและเมืองอื่นๆ เพื่อที่จะสามารถรองรับการกระจายกิจการ ทางเศรษฐกิจออกจากส่วนกลางเป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตามนโยบายทั่วไปของกรมการปกครองด้านใด .
10. โครงการตามแนวทางการพัฒนาจังหวัดประจำปีในระบบ กชช. ของกรมการปกครอง ปี 2537-2539 มีกี่งาน/ โครงการ 
ก. 10 งาน/โครงการ ข. 13 งาน/โครงการ
ค. 18 งาน/โครงการ ง. 14 งาน/โครงการ
จ. 17 งาน/โครงการ
11. เลขานุการ กพอ. คือ
ก. ปลัดอำเภอ หัวหน้าฝ่ายปกครองและพัฒนา ข. ปลัดอาวุโส 
ค. ปลัดอำเภองานพัฒนาท้องที่ ง. พัฒนาการอำเภอ
จ. ปลัดอำเภอ
12. โรคเอดส์ เกิดจาก
ก. เชื้อไวรัส ข. เชื้อรา
ค. เชื้อแบคทีเรีย ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข.
จ. ถูกเฉพาะข้อ ข. และ ค.
13. โอกาสที่โรคเอดส์จะแพร่โรคได้มากที่สุดเกิดจาก
ก. เลือดและน้ำอสุจิ
ข. เลือด น้ำอสุจิและน้ำในช่องคลอด
ค. เลือด น้ำอสุจิ น้ำในช่องคลอด และน้ำลาย
ง. เลือด น้ำอสุจิ น้ำในช่องคลอด น้ำลาย และเสมหะ
จ. เลือด น้ำอสุจิ และระบบการหายใจ
14. แผนพัฒนาจังหวัด คือ
ก. แผนงานและโครงการพัฒนาชนบทของหน่วยราชการในส่วนกลางที่ดำเนินการในพื้นที่ของจังหวัดและจังหวัดเป็นผู้ประสานแผนงานและโครงการดังกล่าว
ข. โครงการพัฒนาจังหวัดของหน่วยราชการส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และโครงการพัฒนาตำบล
ค. แผนงานและโครงการเร่งรัดการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข.
จ. ถูกเฉพาะข้อ ก. ข. และ ค.
15. ผู้ใดไม่ได้เป็นคณะกรรมการการพัฒนาชนบทและกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค
ก. รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ข. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ค. ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
ง. ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
จ. ปลัดกระทรวงกลาโหม
16. คปต. คือ
ก. คณะสนับสนุนการพัฒนาชนบทระดับตำบล หมู่บ้าน
ข. คณะทำงานสนับสนุนกสนปฏิบัติการพัฒนาชนบทระดับตำบล หมู่บ้าน
ค. คณะทำงานสนับสนุนการปฏิบัติการพัฒนาชนบทระดับตำบล
ง. คณะปฏิบัติการสนับสนุนการพัฒนาชนบทระดับตำบล..เเอ๊คกรุ๊ป
จ. คณะปฏิบัติการสนับสนุนการวางแผนชนบทระดับตำบล
17. หน่วยงานใดมีหน้าที่ติดตามการใช้จ่ายเงินตามโครงพัฒนาจังหวัด
ก. สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ข. กรมบัญชีกลาง
ค. สำนักงานงบประมาณ ง. สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
จ. สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
18. การตรวจราชการในภารกิจของกรมการปกครอง แบ่งเขตการตรวจราชการออกเป็นกี่เขต
ก. 75 เขต ข. 5 เขต
ค. 10 เขต ง. 18 เขต
จ. 9 เขต
19. PACKAGE SERVICE คือการบริการแบบครบวงจร ท่านทราบหรือไม่ว่า P ย่อมาจากอะไร
ก. ความสุภาพอ่อนน้อม
ข. การมีส่วนร่วมของประชาชน
ค. ปัญหาและความต้องการของประชาชน
ง. ความถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย
จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
20. การบริการประชาชนในภารกิจของกรมการปกครองมีขอบเขตอย่างไร
ก. ในสำนักงานและนอกสำนักงาน
ข. ในภารกิจกรมการปกครองและงานนอกภารกิจของกรมการปกครอง
ค. ในเมือง ชนบท
ง. ในเวลาราชการ นอกเวลาราชการ.
จ. ถูกทุกข้อ
21. การแจ้งย้ายปลายทาง บุคคลที่จะขอแจ้งย้ายได้จะต้องเป็น
ก. บุคคลที่ไม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน
ข. บุคคลที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
ค. บุคคลที่มีชื่อในทะเบียนบ้านกลางของสำนักทะเบียน
ง. ถูแฉพาะข้อ 1 และ 3
จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
22. พ.รบ. บัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ. 2526 กำหนดคุณสมบัติผู้ขอมีบัตรว่าจะต้องมีอายุ
ก. ตั้งแต่ 18 ปี บริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 60 ปี บริบูรณ์
ข. ตั้งแต่ 18 ปี บริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 65 ปี บริบูรณ์
ค. ตั้งแต่ 15 ปี บริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 65 ปี บริบูรณ์
ง. ตั้งแต่ 15 ปี บริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 70 ปี บริบูรณ์
จ. ตั้งแต่ 15 ปี บริบูรณ์ แต่ไม่เกิน 60 ปี บริบูรณ์ 
23. ผู้ที่จะขอมีบัตรประจำตัวประชาชน ซึ่งระบุข้อความว่า 'ใช้ได้ตลอดชีพ' จะต้องเป็นบุคคลที่มีอายุ
ก. 60 ปีขึ้นไป ข. 65 ปีขึ้นไป
ค. 70 ปีขึ้นไป ง. 64 ปีขึ้นไป
จ. 62 ปีขึ้นไป

24. บุคคลที่ได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนชื่อตัวหรือเปลี่ยนชื่อสกุล จะต้องขอเปลี่ยนบัตรประจำตัวประชาชนภายใน
ก. 15 วัน ข. 30 วัน
ค. 60 วัน ง. 90 วัน
จ. 120 วัน
25. การจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียน สามารถกระทำได้โดยผู้ร้อง
ก. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ เลย
ข. ต้องจัดพาหนะให้นายทะเบียนเท่านั้น
ค. เสียค่าธรรมเนียมคู่ละ 200 บาท และจ่ายค่าพาหนะแก่นายทะเบียน
ง. จ่ายค่าพาหนะแก่นายทะเบียน
จ. จัดพาหนะรับส่ง หรือจ่ายค่าพาหนะแก่นายทะเบียนและเสียค่าธรรมเนียมคู่ละ 200 บาท 
26. กรมการปกครองได้ตรวจสอบพบว่ามีคนที่มีชื่อซ้ำทั่วประเทศในทะเบียนบ้าน จำนวนประมาณ
ก. หนึ่งล้านชื่อ ข. ห้าแสนชื่อ
ค. แปดแสนชื่อ ง. หนึ่งล้านห้าแสนชื่อ
จ. สองล้านชื่อ
27. ปัจจุบันเลขประจำตัวประชาชนมี 13 หลัก เลขหลักแรกหรือเลขตัวแรก หมายถึง 
ก. จังหวัดและอำเภอ
ข. กลุ่มของบุคคลที่ได้เลขประจำตัวประชาชนตามทะเบียนบ้านในแต่ละสำนักทะเบียน
ค. ประเภทบุคคล
ง. ลำดับที่ขอบุคคลในแต่ละกลุ่มที่ถูกแจกจ่ายเลขประจำตัว
จ. เลขตรวจสอบซึ่งกำหนดโดยคอมพิวเตอร์
28. เด็กที่เกิดในต่างประเทศจากบิดาหรือมารดาที่มีสัญชาติไทย ย่อมได้สัญชาติไทย เพราะเป็นไปตามหลัก
ก. หลักความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ข. หลักดินแดน
ค. หลักสายโลหิต ง. หลักการผ่อนผันเฉพาะราย
จ. ถูกเฉพาะข้อ 1 และ 4
29. ชาวไทยภูเขา ได้แก่
ก. แม้ว เย้า มูเซอ ข. ลีซอ อีก้อ กะเหรี่ยง
ค. ลัวะ ถิ่น ขมุ ง. ตองเหลือง เงาะป่า ซาไก
จ. ถูกเฉพาะข้อ ก ข. และ ค.
30. โครงการจัดทำระบบบริการประชาชนทางด้านการทะเบียนและบัตรประจำตัวประชาชนด้วยระบบคอมพิวเตอร์ มีสาระสำคัญ คือ
ก. ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ที่อำเภอ การผลิตบัตรประจำตัวประชาชนยังอยู่ที่กรม..เเอ๊คกรุ๊ป
ข. ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ที่อำเภอ ผลิตบัตรที่อำเภอ
ค. ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ที่อำเภอ ให้บริการด้านการทะเบียนด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
ง. ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์ที่จังหวัดและผลิตบัตรที่จังหวัด
จ. ถูกเฉพาะข้อ ข. และ ค.
31. 'ผู้มีส่วนได้เสีย' ที่จะขอตรวจหรือขอคัดสำเนารายการเอกสารทะเบียนราษฎร ตาม พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ได้คือ
ก. เจ้าบ้าน
ข. ผู้มีชื่อและรายการปกครองในเอกสารที่จะขอตรวจหรือคัด และรับรองสำเนา..
ค. บุคคลหรือนิติบุคคลใดที่มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับเอกสารทะเบียนราษฎร ไม่ว่าโดยตรงหรือทางอ้อม
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ค.
จ. ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค.
32. นโยบายในการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎร มีดังนี้
ก. ให้กำหนดเป็นสมมติฐานว่าความผิดพลาดบกพร่องของงานทะเบียนราษฎรทุกอย่างสามารถแก้ไขให้ถูกต้องได้
ข. ให้มีความระเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงาน
ค. อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ให้ขอเพิ่มจากส่วนกลางได้
ง. เมื่อพิจารณาเข้าเกณฑ์แล้วนายอำเภอสามารถอนุญาตการจัดตั้งได้เอง
จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
33. นโยบายการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎร มีดังนี้
ก. ให้กำหนดเป็นสมมติฐานว่าความผิดพลาดบกกพร่องของงานทะเบียนราษฎรทุกอย่างสามารถแก้ไขให้ถูกต้องได้
ข. ให้มีความละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงาน
ค. ขอให้ศึกษากฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสั่งการให้ดี และอย่ากลัวที่จะปฏิบัติงานทะเบียนราษฎร
ง. ถูกเฉพาะข้อ ข. และ ค.
จ. ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค.
34. การตั้งชื่อบุคคลตามกฎหมายและระเบียบในปัจจุบัน ต้องดำเนินการตามข้อใดจึงจะถูกต้อง.
ก. ในการตั้งชื่อบุคคลที่หมายรู้ว่าเป็นชื่อชายหรือชื่อหญิง และชื่อหนึ่งให้มีสามพยางค์เป็นอย่างมาก
ข. ชื่อจะต้องไม่พ้องหรือมุ่งหมายให้คล้ายกับพระปรมาภิไธย พระนามของพระราชินี หรือราชทินนาม
ค. ชื่อที่ขอตั้งต้องไม่มีคำหรือความหมายหยาบคาย
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข.
จ. ถูกเฉพาะข้อ ข. และ ค.
35. การพิจารณาสั่งยุบลิกมัสยิด เป็นอำนาจของ
ก. นายอำเภอ ข. คณะกรรมการอำเภอ
ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด ง. คณะกรรมการจังหวัด
จ. คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย..เเอ๊คกรุ๊ป
36. ตามพระราชบัญญัติสัตว์พาหนะ พ.ศ.2482 ช้าง ถือเป็นสัตว์พาหนะ และจะต้องจดทะเบียนทำตั๋วรูปพรรณเมื่อ อายุ
ก. ตั้งแต่เกิด ข. เมื่ออายุย่างเข้า 7 ปี
ค. เมื่ออายุย่างเข้าปีที่ 8 ง. เมื่ออายุย่างเข้าปีที่ 9
จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
37. การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม ผู้รับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า
ก. 20 ปี ข. 25 ปี
ค. 30 ปี ง. 35 ปี
จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
38. ทะเบียนครอบครัว แบ่งออกเป็น
ก. 4 ประเภท ข. 5 ประเภท
ค. 6 ประเภท ง. 7 ประเภท
จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
39. ข้อความต่อไปนี้ ซึ่งเกี่ยวกับทะเบียนการบันทึกฐานะแห่งภริยานั้น ข้อความใดถูกต้อง
ก. ให้บันทึกฐานะภริยาหลวงเพียงคนเดียว ภริยาน้อยห้ามบันทึก
ข. ให้บันทึกภริยาน้อยได้เพียงหนึ่งคน
ค. ให้บันทึกภริยาทุกคน ทั้งที่ร้องขอและไม่ได้ร้องขอ
ง. สามีภริยาที่จะร้องขอให้บันทึก ต้องแต่งงานก่อนวันที่ 1 ต.ค. 2478
จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
40. ตามกฎเสนาบดี ว่าด้วยกุศลสถานชนิดศาลเจ้า การแต่งตั้งถอดถอนผู้จัดการปกครองศาลเจ้าหน้าที่ทะเบียนกับ ทางราชการในต่างจังหวัดเป็นของ
ก. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ข. อธิบดีกรมการปกครอง
ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด ง. นายอำเภอ
จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
41. ข้อต่อไปนี้ข้อใด มิใช่ ผู้อำนวยการป้องกันฝ่ายพลเรือนในเขตท้องที่ ตาม พ.ร.บ. ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. 2522
ก. ปลัดเมืองพัทยา
ข. นายกเทศมนตรีตำบลแหลมฉบัง
ค. นายอำเภอสามพราน
ง. ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอพุทธมลฑล
จ. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
42. ผู้ที่ดำรงตำแหน่งต่อไปนี้ ผู้ใดมิได้เป็นผู้อำนวยการศูนย์ อปพร.
ก. อธิบดีกรมการปกครอง ข. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ค. นายอำเภอ ง. ปลัดเมืองพัทยา
จ. ผู้อำนวยการเขตในสังกัดกรุงเทพมหานคร
43. เมื่อแรกประกาศใช้ พรบ. ป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2459 นั้น ให้ใช้บังคับในเขตพื้นที่ใดก่อน
ก. ในเขตเทศบาลซึ่งเป็นที่ตั้งของศาลากลาง
ข. ในเขตเทศบาล และสุขาภิบาลทุกแห่ง
ค. ในเขตกรุงเทพ ธนบุรี และเทศบาลทุกแห่ง
ง. ในเขตเทศบาลทุกแห่ง
จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
44. ข้อใดต่อไปนี้ มิใช่ มาตรการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
ก. มาตรการป้องกัน ข. มาตรการคุ้มกัน
ค. มาตรการระงับ ง. มาตรการคุ้มกัน
จ. มาตรการฟื้นฟูและบูรณะ
45. บุคคลใดดำรงตำแหน่งต่อไปนี้มิได้เป็นเจ้าของท้องถิ่นตาม พ.ร.บ. ป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2595 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2499
ก. นายกเทศมนตรี ข. ประธานกรรมการสุขาภิบาล
ค. ผู้ว่าราชการจังหงวัด ง. อธิบดีกรมตำรวจ
จ. ปลัดเมืองพัทยา
46. เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นไม่สามารถแต่งตั้งบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งต่อไปนี้ให้เป็นนายตรวจ พ.ร.บ. ป้องกันและระงับ อัคคีภัย พ.ศ. 2495 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2499 ได้
ก. ปลัดอำเภอ
ข. พนักงานเทศบาลตั้งแต่ชั้นตรีขึ้นไป
ค. พนักงานสุขาภิบาลตั้งแต่ชั้นตรีขึ้นไป
ง. หัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอ
จ. กรรมการสุขาภิบาลที่มาจากการเลือกตั้ง
47. หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการของกระทรวงมหาดไทย เกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือราษฎรที่ประสบภัย ธรรมชาติที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันได้แก่ฉบับใด
ก. พ.ศ.2532 ข. พ.ศ.2533
ค. พ.ศ.2535 ง. พ.ศ.2536
จ. พ.ศ.2537
48. วงเงินทดรองราชการ ในอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัดตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินทดรอง ราชการเพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ประสบภัยธรรมชาติ ฉบับที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันกำหนดไว้ในวงเงินเท่าใด..เเอ๊คกรุ๊ป
ก. สองล้านบาท ข. สามล้านบาท
ค. สี่ล้านบาท ง. ห้าล้านบาท
จ. เจ็ดล้านบาท
49. ผู้ว่าราชการจังหวัดไม่สามารถ อนุมัติใช้จ่ายเงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือในกรณีต่อไปนี้ได้ เนื่องจากมิได้ กำหนดไว้ในหลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการของกระทรวงมหาดไทย
ก. ภาวะฝนแล้ง ข. อุทกภัย วาตภัย
ค. ภัยจากลูกเห็บ ง. ไฟไหม้ชุมชนแออัด
จ. ฟ้าผ่า
50. พรบ. ป้องกันและระงับอัคคีภัย ฉบับที่ใช้บังคับในปัจจุบัน บัญญัติไว้ว่า ในการดับเพลิงเป็นหน้าที่ของ
ก. เจ้าพนักงานปกครอง เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น
ข. เจ้าพนักงานปกครอง เจ้าหน้าที่ท้องถิ่น และนายตำรวจ
ค. เจ้าพนักงานดับเพลิง เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น
ง. เจ้าพนักงานดับเพลิง เจ้าพนักงานตำรวจ และเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น
จ. เจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง เจ้าพนักงานตำรวจ และอาสาสมัคร
51. หัวข้อใดต่อไปนี้ ข้อใด มิใช่ ลักษณะงานป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนในปัจจุบัน
ก. เป็นงานเฉพาะกิจเมื่อเกิดภัยขึ้น ก็เรียกระดมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าปฏิบัติหน้าที่โดยฉับพลัน
ข. เป็นงานที่จะต้องปฏิบัติตามแผนอย่างเป็นระบบเพื่อลดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น
ค. เป็นงานที่สามารถกำหนดระยะเวลาที่จะเกิดขึ้นโดยประมาณ และเตรียมการป้องกันล่วงหน้าได้
ง. เป็นงานของทุกกระทรวง ทบวง กรม
จ. ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง..เเอ๊คกรุ๊ป
52. หน่วยราชการต่อไปนี้ หน่วยใดที่มิได้เป็น หน่วยปฏิบัติ ตามแบบแผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนฉบับปัจจุบัน
ก. สำนักนายกเทศมนตรี ข. กระทรวงกลาโหม
ค. กระทรวงการต่างประเทศ ง. กระทรวงอุตสาหกรรม
จ. ทบวงมหาวิทยาลัย
53. ใครเป็นผู้มีอำนาจให้ความเห็นชอบ แผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนของจังหวัด
ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. อธิบดีกรมการปกครอง
จ. ผู้ว่าราชการจังหวัด
54. แผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนฉบับปัจจุบันของประเทศ ได้แก่
ก. แผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ.2533 ข. แผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ.2534
ค. แผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ. 2535 ง. แผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ.2536
จ. แผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน พ.ศ.2537
55. หัวข้อต่อไปนี้ข้อใดมิใช่องค์ประกอบในการปฏิบัติงานข่าว
ก. หน่วยข่าว ข. เป้าหมายของข่าว
ค. แหล่งข่าว ง. หน่วยตรวจและกรองข่าว
จ. ระบบการติดต่อและรายงาน
56. หัวข้อต่อไปนี้ ข้อใด เป็นวิธีการหาข่าวด้วยตนเอง
ก. การคัดเลือก ข. การทาบทามชักชวน
ค. การลวงถาม ง. การระวังตัว
จ. การสืบสวน
57. หัวข้อใด มิใช่ ลักษณะของรายงานข่าวที่ดี
ก. ข้อความชัดเจน ไม่คลุมเครือ ข. ยืนยันหลักฐาน สถานที่ พิกัดแผนที่
ค. ทำให้ทราบว่าใครทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร.
ง. ไม่มีข้อเสนอแนะหรือข้อคิดเห็นอื่นปะปน
จ. ต้องระบุค่าของข่าวให้ชัดเจน
58. การจัดตั้งกองร้อย อส. ขึ้นในท้องที่ใดๆ เป็นอำนาจของบุคคลใด ตามหัวข้อต่อไปนี้
ก. ผู้อำนวยการสำนักอำนวยการอาสารักษาดินแดน
ข. อธิบดีกรมการปกครอง
ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
จ. คณะรัฐมนตรี
59. ตำแหน่งทางอาสารักษาดินแดนของอธิบดีกรมการปกครอง คือ
ก. ผอ. อส. ข. ผบ.อส.
ค. ผอ.สน.อส. ง. หน.ฝ.บก.อส.
จ. ผบช.อส.กลาง
60. หัวข้อใด มิใช่ ลักษณะของการพิทักษ์พื้นที่เขตหลัง
ก. การระวังป้องกันสถานที่ตั้งหน่วย
ข. การใช้กำลังประชาชนอาสาสมัครควบคุมสถานที่ราชการ ถนน สะพาน และสถานที่สำคัญอื่นๆ
ค. การปฏิบัติการลบเพื่อป้องกันตนเองเป็นหลัก
ง. เป็นการปฏิบัติการที่ไม่มุ่งทำลายล้างข้าศึก
จ. การควบคุมความเสียหายและเร่งฟื้นฟูบูรณะ
61. หลักเกณฑ์การจัดตั้งอำเภอตามมติคณะรัฐมนตรีที่ถือปฏิบัติอยู่ในขณะนี้ กำหนดไว้ว่า อำเภอจะต้องมีพลเมือง เท่าไร
ก. พลเมือง 20,000 คน ข. พลเมือง 20,000 คนขึ้นไป
ค. พลเมือง 25,000 คน ง. พลเมือง 25,000 คนขึ้นไป
จ. ถูกเฉพาะข้อ ค. และ ง.
62. ปัจจุบันประเทศไทยมีกี่จังหวัด
ก. 73 ข. 74
ค. 75 ง. 76.
จ. 77
63. พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พุทธศักราช 2547 มีกี่แก้ไขจนถึงปัจจุบันกี่ครั้ง
ก. 7 ครั้ง ข. 8 ครั้ง
ค. 9 ครั้ง ง. 10 ครั้ง
จ. 12 ครั้ง
64. การเปลี่ยนแปลงเขตตำบลต้องได้รับอนุมัติจากใครและต้องทำเป็นอะไร
ก. จังหวัด/ประกาศจังหวัด
ข. กรมการปกครอง/ประกาศจังหวัด
ค. กระทรวงมหาดไทย/ประกาศกระทรวงมหาดไทย
ง. กรมการปกครอง/ประกาศกระทรวงมหาดไทย
จ. กระทรวงมหาดไทย/ประกาศจังหวัด
65. ที่ดินสาธารณะประโยชน์ประเภทใดที่อยู่ในความดูแลของกรมการปกครอง
ก. ที่ดินรกร้างว่างเปล่า
ข. ที่ดินที่ใช้ประโยชน์ในราชการโดยเฉพาะ
ค. ที่ดินสาธารณะประโยชน์ประจำตำบลหมู่บ้าน
ง. ที่ดินที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน
จ. แม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึง
66. การเลือกผู้ใหญ่บ้านแทนตำแหน่งที่ว่างต้องกระทำภายใน
ก. 15 วันนับแต่วันที่นายอำเภอทราบการว่าง
ข. 60 วันนับแต่วันที่นายอำเภอทราบการว่าง
ค. 15 วันนับแต่วันที่ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านว่างลง
ง. 60 วันนับแต่วันที่ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านว่างลง
จ. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข.
67. ขั้นตอนการเลือกผู้ใหญ่บ้านข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. นายอำเภอจัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิ์เลือกจำนวนตามความเหมาะสม
ข. ปิดประกาศบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิ์เลือกก่อนวันเลือกไม่น้อยกว่า 3 วัน
ค. นายอำเภอประชุมราษฎรเพื่อกำหนดวันเลือก สถานที่เลือก เวลาลงคะแนน ตามที่ราษฎรต้องการ
ง. ผู้มีสิทธิเลือกสามารถตรวจสอบและขอแก้ไขบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือก ก่อนวันเลือก 3 วัน
จ. ผู้มีสิทธิเลือกตกลงกันเองว่าจะใช้วิธีเลือกโดยเปิดเผยหรือวิธีลับแล้วเสนอนายอำเภอให้ดำเนินการ
68. การเลือกกำนัน ต.ไผ่แดง เมื่อ 30 เมษายน 2537 มีผู้ใหญ่บ้านสมัคร 2 คน ได้แก่ ผู้ใหญ่เชียร อายุ 59 ปี เป็น ผู้ใหญ่บ้านเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2515 และผู้ใหญ่เชาว์ อายุ 39 ปี เป็นผู้ใหญ่บ้านเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2535 ข้อความใดถูกต้องที่สุด
ก. ผู้ใหญ่เชียรได้รับเลือกจะเป็นกำนันถึง 29 เมษายน 2542
ข. ผู้ใหญ่เชาว์ได้รับเลือกจะเป็นกำนันถึงวันที่ 29 เมษายน 2542
ค. ผู้ใหญ่เชียรได้รับเลือกจะเป็นกำนันถึงวันที่ 30 พฤษภาคม 2538
ง. ผู้ใหญ่เชาว์ได้รับเลือกจะเป็นกำนันถึงวันที่ 9 กรกฎาคม
จ. ผู้ใหญ่เชาว์ได้รับเลือกจะเป็นกำนันถึงอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์
69. ผู้ใหญ่ประวิตรมีอายุครบ 60 ปี ในวันที่ 6 กรกฎาคม 2535 ด้วยความที่อยากเป็นผู้ใหญ่บ้านต่อไป จึงลาออก
เมื่อ 7 กรกฎาคม 2535 นายอำเภอได้กำหนดให้มีการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านใหม่ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2535 ข้อความใดถูกต้องที่สุด
ก. ถ้าผู้ใหญ่ประวิตรได้รับเลือกจะอยู่ในตำแหน่งครบวาระ 5 ปี
ข. ถ้าผู้ใหญ่ประวิตรไม่มีสิทธิสมัครรับเลือกจะอยู่ในตำแหน่งจนครบ 60 ปี เท่านั้น
ค. ผู้ใหญ่ประวิตรไม่มีสิทธิสมัครรับเลือก เพราะขาดคุณสมบัติ
ง. ถ้าผู้ใหญ่ประวิตรได้รับเลือกอีก จะต้องกลับไปรับเงินค่าตอบแทนขั้นต้นใหม่
จ. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ง.
70. การลงประชามติให้ผู้ใหญ่บ้านออกจากตำแหน่งตามมาตรา 14(6) แห่ง พ.ร.บ. ลักษณะปกครองท้องที่ พุทธศักราช 2457 ผู้ใหญ่บ้านจะต้องออกจากตำแหน่งเมื่อ
ก. ผู้มาประชุมเกินกึ่งหนึ่งร้องขอให้ออก
ข. ราษฎรในหมู่บ้านนั้นเกินกึ่งหนึ่งร้องขอให้ออก
ค. ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกผู้ใหญ่บ้านในหมู่บ้านนั้นเกินกึ่งหนึ่งร้องขอให้ออก
ง. ราษฎรที่บรรลุนิติภาวะแล้วในหมู่บ้านนั้นเกินกึ่งหนึ่งร้องขอให้ออก
จ. ราษฎรที่มีภูมิลำเนา ถิ่นที่อยู่ และมีชื่อในทะเบียนบ้านในหมู่บ้านนั้นเกินกึ่งหนึ่งขอให้ออก
71. ข้อความใดถูกต้อง
ก. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ได้รับสวัสดิการจากรัฐเหมือนข้าราชการทุกประการ
ข. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ที่เดินทางไปราชการมีสิทธิลดค่าโดยสารรถไฟครึ่งราคา
ค. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน มีสิทธิรถค่าโดยสารรถไฟครึ่งราคาทุกชั้น..เเอ๊คกรุ๊ป
ง. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน มีสิทธิลดค่าโดยสารรถไฟครึ่งราคาเฉพาะชั้น 3
จ. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน มีสิทธิลดค่าโดยสารรถไฟไม่เท่ากัน
72. เมื่อเจ้าของที่ดินเสียภาษีในข้อใดแล้วไม่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่
ก. ภาษีมูลค่าเพิ่ม ข. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ค. ภาษีเงินได้นิติบุคคล ง. ภาษีการค้า
จ. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
73. ที่ดินในข้อใดที่เจ้าของที่ดินไม่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่
ก. นิคมสร้างตนเอง ข. โรงเรียนเอกชน
ค. โรงพยาบาลเอกชน ง. ตลาดเทศบาล
จ. เหมืองแร่
74. หากเจ้าของที่ดินไม่ชำระภาษีบำรุงท้องที่ภายในเดือนเมษายนของทุกปีจะต้องเสียเงินเพิ่มอีกร้อยละเท่าไรของ จำนวนที่ต้องเสียภาษีบำรุงท้องที่
ก. ร้อยละ 12 ต่อปี ข. ร้อยละ 15 ต่อปี
ค. ร้อยละ 18 ต่อปี ง. ร้อยละ 20 ต่อปี
จ. ร้อยละ 20 ต่อปี
75. กรณีการเช่านาตามพระราชบัญญัติเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.2524 หากการเช่ารายใดไม่ได้กำหนดระยะเวลา การเช่าไว้ถือว่าการเช่านั้นมีกำหนดเวลา
ก. 3 ปี ข. 4 ปี
ค. 5 ปี ง. 6 ปี
จ. แล้วแต่ผู้เช่าและผู้ให้เช่าจะตกลงกันเอง
76. ประธานคณะกรรมการการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมประจำตำบลได้แก่
ก. ปลัดอำเภอผู้รับผิดชอบประจำตำบลนั้น ข. ปลัดอำเภอที่นายอำเภอมอบหมาย
ค. กำนัน ง. พัฒนากรประจำตำบลนั้น
จ. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข.
77. นายสุเมธ ไปแจ้งความประสงค์จะฆ่าสุกรต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ และเมื่อได้รับแจ้งดังกล่าว พนักงานเจ้าหน้าที่ จะต้องออกหลักฐานให้กับนายสุเมธ คือ
ก. อาชญาบัตรสุกร ข. ใบอนุญาตฆ่าสุกร
ค. แบบตอบรับแจ้งการฆ่าสุกร ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข.
จ. ถูกเฉพาะข้อ ข. และ ค.
78. กรณีเกษตรกรสูญเสียกรรมสิทธิในที่ดิน และต้องการจะขอกู้เงินทุนหมุนเวียนเพื่อปลดเปลื้องหนี้สินเดิมของ เกษตรกรที่ยากจนนำไปซื้อที่ดินคืน ในฐานะฝ่ายปกครอง ท่านจะแนะนำให้เกษตรกรไปติดต่อหน่วยงานใดที่ ทำหน้าที่รับผิดชอบเรื่องดังกล่าว
ก. อชก. ส่วนอำเภอ ข. กบส.
ค. คชก. จังหวัด ง. สำนักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัด
จ. ถูกทุกข้อ
79. การพัฒนาตามแนวอุดมการณ์แผ่นดินธรรม แผ่นดินทอง เป็นการพัฒนาอย่างมีดุลยภาพโดยประกอบด้วย แนวทาง
ก. การพัฒนาจิตใจกับการพัฒนาวัตถุ
ข. การพัฒนาจิตใจ การปกครอง และการพัฒนาสังคม
ค. การพัฒนาจิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ
ง. การพัฒนาจิตใจ และเศรษฐกิจ
จ. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
80. กรรมการหมู่บ้านผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการหมู่บ้าน มีวาระการดำรงตำแหน่ง
ก. 2 ปี ข. 3 ปี
ค. 4 ปี ง. 5 ปี
จ. 6 ปี
81. การเลือกตั้งคณะกรรมการหมู่บ้านผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นแทนตำแหน่ง ให้กระทำภายใน
ก. 90 วัน นับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่าง
ข. 60 วัน นับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่าง
ค. 45 วัน นับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่าง
ง. 30 วัน นับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่าง
จ. 15 วัน นับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่าง

82. การพิจารณาแนวเขตปกครองของหน่วยการปกครองต่าง ๆ ให้พิจารณาจาก
ก. พระราชบัญญัติจังหวัด
ข. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งอำเภอ..เเอ๊คกรุ๊ป
ค. ประกาศกระทรวงมหาดไทยตั้งกิ่งอำเภอ
ง. ประกาศกระทรวงมหาดไทยตั้งตำบล
จ. ถูกทุกข้อ
83. ฝ่ายประชาอาสา ตามแบบมาตรฐาน มข. 2527 เหมาะสำหรับใช้ในการก่อสร้างกั้นลำน้ำขนาด
ก. ลึกไม่เกิน 3.50 เมตร กว้างไม่เกิน 15 เมตร
ข. ลึกไม่เกิน 5 เมตร กว้างไม่เกิน 15 มตร
ค. ลึกไม่เกิน 5 เมตร กว้างไม่เกิน 20 เมตร
ง. ลึกไม่เกิน 3.50 เมตร กว้างไม่เกิน 20 เมตร
จ. ปรับได้ทุกขนาดของลำน้ำ
84. โครงการที่ไม่สามารถขอรับการสนับสนุนงบประมาณแหล่งน้ำขนาดเล็กของกรมการปกครอง คือ
ก. อ่างเก็บน้ำวงเงิน 300,000 บาท ข. ฝ่ายประชาอาสา วงเงิน 380,000 บาท
ค. บ่อบาดาล วงเงิน 100,000 บาท ง. ขุดลอกแหล่งน้ำ วงเงิน 300,000 บาท
จ. ถูกทุกข้อ..เเอ๊คกรุ๊ป
85. ในวันหนึ่งที่คนเราต้องการน้ำบริโภคตามเกณฑ์มาตรฐานเฉลี่ยคนละกี่ลิตร
ก. 2 ลิตร ข. 3 ลิตร
ค. 5 ลิตร ง. 7 ลิตร
จ. 15 ลิตร

เฉลยแนวข้อสอบคัดเลือกข้าราชการเพื่อเข้าศึกษาโรงเรียนปลัดอำเภอ ปี 2537
(เฉลย ณ ปีนั้น)


1. จ. 2. ค. 3. จ. 4. จ. 5. ก.
6. จ. 7. จ. 8. จ. 9. ก. 10. ค.
11. ง. 12. ก. 13. ง. 14. ง. 15. จ.
16. ค. 17. ข. 18. ค. 19. ค. 20. ก.
21. ข. 22. ง. 23. ค. 24. ง. 25. จ.
26. ค. 27. ค. 28. ค. 29. จ. 30. จ.
31. จ. 32. ข. 33. จ. 34. จ. 35. จ.
36. ค. 37. ข. 38. ง. 39. ง. 40. ค.
41. ง. 42. ก. 43. ง. 44. ค. 45. ง.
46. ไม่มีข้อถูก 47. ง. 48. จ. 49. ง. 50. ง.
51. กง 52. ข. 53. ข. 54. ง. 55. จ.
56. ค. 57. ง. 58. ง. 59. ง. 60. ง.
61. ง. 62. ค. 63. ค. 64. จ. 65. ง.
66. ก. 67. ง. 68. ง. 69. ค. 70. ค.
71. ค. 72. จ. 73. ก. 74. จ. 75. ง.
76. ค. 77. ข. 78. ก. 79. ค. 80. ง.
81. ข. 82. จ. 83. ง. 84. ค. 85. ก.
************************************
 
ประพันธ์ เวารัมย์ [101.51.49.xxx] เมื่อ 14/01/2017 13:57
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
รูปประกอบความคิดเห็น :
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
อีเมล์ :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :