สถิติ
เปิดเมื่อ21/09/2014
อัพเดท11/07/2015
ผู้เข้าชม1714551
แสดงหน้า2188591
บทความ
ประวัติ นายประพันธ์ เวารัมย์ (เจ้าของเว็บไซต์)
ประวัตินายประพันธ์ เวารัมย์ เจ้าของเว็บไซต์ แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้า
รู้จัก ด.ช.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผ่านนิตยสารชัยพฤกษ์ ปี 2512
รู้จัก ด.ช.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผ่านนิตยสารชัยพฤกษ์ ปี 2512
เปิดประวัติ พล.อประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 29
เปิดประวัติ พล.อประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 29
ข้อมูลเตรียมสอบปลัดอำเภอ
้ข้อมูลเตรียมสอบปลัด 2
แนวข้อสอบปลัดอำเภอ
คู่มือการดูแลรักษาและคุ้มครองที่สาธารณประโยชน์
เจ้าของเว็บไซต์
โครงสร้างเตรียมสอบปลัดอำเภอ ข้อสอบที่เคยออกปี 2548 และปี 51-55 (สำหรับผู้ใฝ่ฝัน เป็นปลัดอำเภอ)
เตรียมสอบปลัดอำเภอ
ตู้หนังสือ แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้า
คู่มือปฏิบัติงานกองอาสารักษาดินแดน
วันสถาปนากองอาสารักษาดินแดน
​หนังสือคู่มือการทะเบียนราษฎร
เตรียมสอบปลัดอำเภอ
หนังสือสั่งการต่างๆ เกี่ยวกับท้องถิ่น
ท้องถิ่นกำลังจะแก้ไขหลักเกณฑ์การสอบใหม่
เรื่องทั่้วไป
เว็บไซต์กระทรวงต่างๆ 20 กระทรวง
แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้า
ยังจำท่านได้ดี ท่านสิริรัฐ (สถาพร) ชุมอุปการ (นายอำเภอประโคนชัย ปี 2547)
สวัสดีวันพุธ ที่ 24 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557 ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11
เอกสารเตรียมสอบปลัดอำเภอ เนื้อหาเกี่ยวกับนโยบายรัฐบาล
เอกสารเตรียมสอบปลัดอำเภอ (ชุดที่ 2)
เอกสารเตรียมสอบปลัดอำเภอ (ชุดที่ 1)
หนังสือปฏิบัติงานกรมการปกครอง
คู่มือการปฏิบัติหน้าที่ของกรมการปกครอง ของปลัดอำเภอ
รวมกฎหมายปกครองที่เล่ม 5
รวมกฎหมายปกครองที่เล่ม 4
รวมกฎหมายปกครองเล่ม 3
รวมกฎหมายปกครอง เล่ม 1
รวมกฎหมายปกครอง เล่ม 2
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   




ข้อเสนอของผู้ตรวจการแผ่นดิน ให้ยุบเขตพื้นที่ โอนโรงเรียนให้ท้องถิ่นเต็มรูปแบบ

ข้อเสนอของผู้ตรวจการแผ่นดิน ให้ยุบเขตพื้นที่ โอนโรงเรียนให้ท้องถิ่นเต็มรูปแบบ
อ้างอิง อ่าน 235 ครั้ง / ตอบ 2 ครั้ง

ประพันธ์ เวารัมย์
ข้อเสนอของผู้ตรวจการแผ่นดิน ให้ยุบเขตพื้นที่ โอนโรงเรียนให้ท้องถิ่นเต็มรูปแบบ



เว็บไซต์สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ได้เผยแพร่เอกสาร  ข้อเสนอของผู้ตรวจการแผ่นดิน (ศาสตราจารย์ศรีราชา วงศารยางกูร) ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ....  ซึ่งได้กล่าวถึง การปฏิรูปโครงสร้างการศึกษา ปัจจัยสําคัญของการปฏิรูปการศึกษา โดยเว็บไซต์ครูบ้านนอกดอทคอมได้เรียบเรียงในส่วนของการปฏิรูปโครงสร้างฯ นำมาเผยแพร่ให้คุณครูและบุคลากรทางการศึกษาได้อ่านและศึกษากันดังนี้

รายละเอียดโดยสรุป ...

โครงสร้างขององค์กรทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ ซึ่งในหลักการของการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมายึดหลักการในการกระจายอํานาจการศึกษา แต่ในสภาพของการบริหารราชการแผ่นดินที่แท้จริงในเรื่องเกี่ยวกับการตามหลักการยังเป็นการรวมศูนย์อํานาจการบริหารงานทางการศึกษาไว้ที่ราชการ บริหารส่วนกลางโดยมีการแบงอํานาจการบริหารไปยังหน่วยงานของกระทรวงศึกษาธิการในส่วนภูมิภาค แต่ใช้ถ้อยคําว่าเป็นการกระจายอํานาจการศึกษา ซึ่งไม่ได้เป็นไปตามหลักการกระจายอํานาจการบริหารราชที่แท้จริงที่ต้องมีการกระจายอํานาจไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงทําให้เกิดการรวมศูนย์ของการจัดสรรทรัพยากรสําหรับการจัดการศึกษาไว้ที่หน่วยงานกลางในแต่ละแท่ง และแบ่งอํานาจและการจัดสรรทรัพยากร ไปยังเขตพื้นที่การศึกษา โดยไม่ได้ส่งตรงไปยังโรงเรียนหรือสถานศึกษาซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคล ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการที่ต้องการความเป็นอิสระในการบริหารจัดการทําให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาไม่สามารถจัดการกับทรัพยากรทางการศึกษาที่มีอยู่ได้

จึงมีข้อเสนอในการปรับโครงสร้างองค์กรทางการศึกษา โดยมีหลักการที่มุ่งเน้นการกระจายอํานาจในการจัดการศึกษาไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และกลุ่มผู้สนใจในการจัดการศึกษา ด้วยการถ่ายโอนโรงเรียนและสถาบันการศึกษาไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเต็มรูปแบบ ยกเลิกระบบเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนาในแต่ละท้องถิ่นที่มีความหลากหลาย และเพื่อให้โรงเรียนและสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการในทรัพยากรที่ได้รับการจัดสรร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามนโยบายของท้องถิ่นและนโยบายการศึกษาแห่งชาติ

ทั้งนี้จะส่งผลให้โรงเรียนและสถานศึกษาต่าง ๆ มีการจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษาที่ดีขึ้น จัดสรรตรงไปยังโรงเรียนและสถานศึกษา เพื่อให้โรงเรียนและสถานศึกษามีทรัพยากรทางการศึกษาที่เพียงพอ มีระบบบริหารงานบุคคลและระบบพิทักษ์ระบบคุณธรรมทางการศึกษา ทั้งในระดับชาติและ ท้องถิ่นที่ไม่ซ้ําซ้อน มีประสิทธิภาพ และให้ความเป็นธรรมแก่ครูและบุคลากรการศึกษาในทุกระดับ ลดระบบอุปถัมภ์และการขัดกันซึ่งอํานาจหน้าที่ กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานภายในจะมีขนาดเล็กลง เนื่องจากการกระจายอํานาจทางการศึกษาไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น สํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา และสํานักงานการมัธยมศึกษา จะมีหน่วยงานและบุคลากรในส่วนกลางและภูมิภาคเพียงเพื่อการกํากับในทางนโยบายการศึกษาของแต่ละระดับเท่านั้น ครูและบุคลากรทางการศึกษาจํานวนไม่น้อยกว่า 3.9 แสนคน จะถูกถ่ายโอนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


ดาวน์โหลด ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... 
ฉบับเต็มมาอ่าน คลิกที่นี่

http://www.ombudsman.go.th/10/documents/public/%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2FinalDraft090358.pdf



ขอขอบคุณที่มาของข้อมูลดีๆ โดยเว็บไซต์ครูบ้านนอกดอทคอม
 
ประพันธ์ เวารัมย์ [183.89.73.xxx] เมื่อ 14/01/2017 13:57
1
อ้างอิง

ประพันธ์ เวารัมย์
ข้อเสนอของผู้ตรวจการแผ่นดิน ให้ยุบเขตพื้นที่ โอนโรงเรียนให้ท้องถิ่นเต็มรูปแบบ



เว็บไซต์สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ได้เผยแพร่เอกสาร  ข้อเสนอของผู้ตรวจการแผ่นดิน (ศาสตราจารย์ศรีราชา วงศารยางกูร) ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ....  ซึ่งได้กล่าวถึง การปฏิรูปโครงสร้างการศึกษา ปัจจัยสําคัญของการปฏิรูปการศึกษา โดยเว็บไซต์ครูบ้านนอกดอทคอมได้เรียบเรียงในส่วนของการปฏิรูปโครงสร้างฯ นำมาเผยแพร่ให้คุณครูและบุคลากรทางการศึกษาได้อ่านและศึกษากันดังนี้

รายละเอียดโดยสรุป ...

โครงสร้างขององค์กรทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ ซึ่งในหลักการของการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมายึดหลักการในการกระจายอํานาจการศึกษา แต่ในสภาพของการบริหารราชการแผ่นดินที่แท้จริงในเรื่องเกี่ยวกับการตามหลักการยังเป็นการรวมศูนย์อํานาจการบริหารงานทางการศึกษาไว้ที่ราชการ บริหารส่วนกลางโดยมีการแบงอํานาจการบริหารไปยังหน่วยงานของกระทรวงศึกษาธิการในส่วนภูมิภาค แต่ใช้ถ้อยคําว่าเป็นการกระจายอํานาจการศึกษา ซึ่งไม่ได้เป็นไปตามหลักการกระจายอํานาจการบริหารราชที่แท้จริงที่ต้องมีการกระจายอํานาจไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงทําให้เกิดการรวมศูนย์ของการจัดสรรทรัพยากรสําหรับการจัดการศึกษาไว้ที่หน่วยงานกลางในแต่ละแท่ง และแบ่งอํานาจและการจัดสรรทรัพยากร ไปยังเขตพื้นที่การศึกษา โดยไม่ได้ส่งตรงไปยังโรงเรียนหรือสถานศึกษาซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคล ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการที่ต้องการความเป็นอิสระในการบริหารจัดการทําให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาไม่สามารถจัดการกับทรัพยากรทางการศึกษาที่มีอยู่ได้

จึงมีข้อเสนอในการปรับโครงสร้างองค์กรทางการศึกษา โดยมีหลักการที่มุ่งเน้นการกระจายอํานาจในการจัดการศึกษาไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และกลุ่มผู้สนใจในการจัดการศึกษา ด้วยการถ่ายโอนโรงเรียนและสถาบันการศึกษาไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเต็มรูปแบบ ยกเลิกระบบเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนาในแต่ละท้องถิ่นที่มีความหลากหลาย และเพื่อให้โรงเรียนและสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการในทรัพยากรที่ได้รับการจัดสรร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามนโยบายของท้องถิ่นและนโยบายการศึกษาแห่งชาติ

ทั้งนี้จะส่งผลให้โรงเรียนและสถานศึกษาต่าง ๆ มีการจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษาที่ดีขึ้น จัดสรรตรงไปยังโรงเรียนและสถานศึกษา เพื่อให้โรงเรียนและสถานศึกษามีทรัพยากรทางการศึกษาที่เพียงพอ มีระบบบริหารงานบุคคลและระบบพิทักษ์ระบบคุณธรรมทางการศึกษา ทั้งในระดับชาติและ ท้องถิ่นที่ไม่ซ้ําซ้อน มีประสิทธิภาพ และให้ความเป็นธรรมแก่ครูและบุคลากรการศึกษาในทุกระดับ ลดระบบอุปถัมภ์และการขัดกันซึ่งอํานาจหน้าที่ กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานภายในจะมีขนาดเล็กลง เนื่องจากการกระจายอํานาจทางการศึกษาไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น สํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา และสํานักงานการมัธยมศึกษา จะมีหน่วยงานและบุคลากรในส่วนกลางและภูมิภาคเพียงเพื่อการกํากับในทางนโยบายการศึกษาของแต่ละระดับเท่านั้น ครูและบุคลากรทางการศึกษาจํานวนไม่น้อยกว่า 3.9 แสนคน จะถูกถ่ายโอนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


ดาวน์โหลด ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... 
ฉบับเต็มมาอ่าน คลิกที่นี่

http://www.ombudsman.go.th/10/documents/public/%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2FinalDraft090358.pdf

 


ขอขอบคุณที่มาของข้อมูลดีๆ โดยเว็บไซต์ครูบ้านนอกดอทคอม
 
ประพันธ์ เวารัมย์ [183.89.73.xxx] เมื่อ 6/05/2015 09:02
2
อ้างอิง

ประพันธ์ เวารัมย์
เว็บไซต์สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ได้เผยแพร่เอกสาร  ข้อเสนอของผู้ตรวจการแผ่นดิน (ศาสตราจารย์ศรีราชา วงศารยางกูร) ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ....  ซึ่งได้กล่าวถึง การปฏิรูปโครงสร้างการศึกษา ปัจจัยสําคัญของการปฏิรูปการศึกษา โดยเว็บไซต์ครูบ้านนอกดอทคอมได้เรียบเรียงในส่วนของการปฏิรูปโครงสร้างฯ นำมาเผยแพร่ให้คุณครูและบุคลากรทางการศึกษาได้อ่านและศึกษากันดังนี้

รายละเอียดโดยสรุป ...

โครงสร้างขององค์กรทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ ซึ่งในหลักการของการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมายึดหลักการในการกระจายอํานาจการศึกษา แต่ในสภาพของการบริหารราชการแผ่นดินที่แท้จริงในเรื่องเกี่ยวกับการตามหลักการยังเป็นการรวมศูนย์อํานาจการบริหารงานทางการศึกษาไว้ที่ราชการ บริหารส่วนกลางโดยมีการแบงอํานาจการบริหารไปยังหน่วยงานของกระทรวงศึกษาธิการในส่วนภูมิภาค แต่ใช้ถ้อยคําว่าเป็นการกระจายอํานาจการศึกษา ซึ่งไม่ได้เป็นไปตามหลักการกระจายอํานาจการบริหารราชที่แท้จริงที่ต้องมีการกระจายอํานาจไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงทําให้เกิดการรวมศูนย์ของการจัดสรรทรัพยากรสําหรับการจัดการศึกษาไว้ที่หน่วยงานกลางในแต่ละแท่ง และแบ่งอํานาจและการจัดสรรทรัพยากร ไปยังเขตพื้นที่การศึกษา โดยไม่ได้ส่งตรงไปยังโรงเรียนหรือสถานศึกษาซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคล ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการที่ต้องการความเป็นอิสระในการบริหารจัดการทําให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาไม่สามารถจัดการกับทรัพยากรทางการศึกษาที่มีอยู่ได้

จึงมีข้อเสนอในการปรับโครงสร้างองค์กรทางการศึกษา โดยมีหลักการที่มุ่งเน้นการกระจายอํานาจในการจัดการศึกษาไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และกลุ่มผู้สนใจในการจัดการศึกษา ด้วยการถ่ายโอนโรงเรียนและสถาบันการศึกษาไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเต็มรูปแบบ ยกเลิกระบบเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนาในแต่ละท้องถิ่นที่มีความหลากหลาย และเพื่อให้โรงเรียนและสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการในทรัพยากรที่ได้รับการจัดสรร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามนโยบายของท้องถิ่นและนโยบายการศึกษาแห่งชาติ

ทั้งนี้จะส่งผลให้โรงเรียนและสถานศึกษาต่าง ๆ มีการจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษาที่ดีขึ้น จัดสรรตรงไปยังโรงเรียนและสถานศึกษา เพื่อให้โรงเรียนและสถานศึกษามีทรัพยากรทางการศึกษาที่เพียงพอ มีระบบบริหารงานบุคคลและระบบพิทักษ์ระบบคุณธรรมทางการศึกษา ทั้งในระดับชาติและ ท้องถิ่นที่ไม่ซ้ําซ้อน มีประสิทธิภาพ และให้ความเป็นธรรมแก่ครูและบุคลากรการศึกษาในทุกระดับ ลดระบบอุปถัมภ์และการขัดกันซึ่งอํานาจหน้าที่ กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานภายในจะมีขนาดเล็กลง เนื่องจากการกระจายอํานาจทางการศึกษาไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น สํานักงานการศึกษาปฐมวัยและประถมศึกษา และสํานักงานการมัธยมศึกษา จะมีหน่วยงานและบุคลากรในส่วนกลางและภูมิภาคเพียงเพื่อการกํากับในทางนโยบายการศึกษาของแต่ละระดับเท่านั้น ครูและบุคลากรทางการศึกษาจํานวนไม่น้อยกว่า 3.9 แสนคน จะถูกถ่ายโอนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ดาวน์โหลด ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... 
ฉบับเต็มมาอ่าน คลิกที่นี่
http://www.ombudsman.go.th/10/documents/public/%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2FinalDraft090358.pdf
 
ประพันธ์ เวารัมย์ [183.89.73.xxx] เมื่อ 6/05/2015 09:05
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
รูปประกอบความคิดเห็น :
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
อีเมล์ :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :