สถิติ
เปิดเมื่อ21/09/2014
อัพเดท11/07/2015
ผู้เข้าชม1714783
แสดงหน้า2190542
บทความ
ประวัติ นายประพันธ์ เวารัมย์ (เจ้าของเว็บไซต์)
ประวัตินายประพันธ์ เวารัมย์ เจ้าของเว็บไซต์ แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้า
รู้จัก ด.ช.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผ่านนิตยสารชัยพฤกษ์ ปี 2512
รู้จัก ด.ช.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผ่านนิตยสารชัยพฤกษ์ ปี 2512
เปิดประวัติ พล.อประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 29
เปิดประวัติ พล.อประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 29
ข้อมูลเตรียมสอบปลัดอำเภอ
้ข้อมูลเตรียมสอบปลัด 2
แนวข้อสอบปลัดอำเภอ
คู่มือการดูแลรักษาและคุ้มครองที่สาธารณประโยชน์
เจ้าของเว็บไซต์
โครงสร้างเตรียมสอบปลัดอำเภอ ข้อสอบที่เคยออกปี 2548 และปี 51-55 (สำหรับผู้ใฝ่ฝัน เป็นปลัดอำเภอ)
เตรียมสอบปลัดอำเภอ
ตู้หนังสือ แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้า
คู่มือปฏิบัติงานกองอาสารักษาดินแดน
วันสถาปนากองอาสารักษาดินแดน
​หนังสือคู่มือการทะเบียนราษฎร
เตรียมสอบปลัดอำเภอ
หนังสือสั่งการต่างๆ เกี่ยวกับท้องถิ่น
ท้องถิ่นกำลังจะแก้ไขหลักเกณฑ์การสอบใหม่
เรื่องทั่้วไป
เว็บไซต์กระทรวงต่างๆ 20 กระทรวง
แบ่งปันความรู้สู่ความก้าวหน้า
ยังจำท่านได้ดี ท่านสิริรัฐ (สถาพร) ชุมอุปการ (นายอำเภอประโคนชัย ปี 2547)
สวัสดีวันพุธ ที่ 24 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557 ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11
เอกสารเตรียมสอบปลัดอำเภอ เนื้อหาเกี่ยวกับนโยบายรัฐบาล
เอกสารเตรียมสอบปลัดอำเภอ (ชุดที่ 2)
เอกสารเตรียมสอบปลัดอำเภอ (ชุดที่ 1)
หนังสือปฏิบัติงานกรมการปกครอง
คู่มือการปฏิบัติหน้าที่ของกรมการปกครอง ของปลัดอำเภอ
รวมกฎหมายปกครองที่เล่ม 5
รวมกฎหมายปกครองที่เล่ม 4
รวมกฎหมายปกครองเล่ม 3
รวมกฎหมายปกครอง เล่ม 1
รวมกฎหมายปกครอง เล่ม 2
ปฎิทิน
April 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
  
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
   




แนวข้อสอบครูผู้ช่วย 2555

แนวข้อสอบครูผู้ช่วย 2555
อ้างอิง อ่าน 484 ครั้ง / ตอบ 1 ครั้ง

ประพันธ์ เวารัมย์
คำสั่ง จงเลือกคำตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดพียงข้อเดียว
1. “จรรยา” มีความหมายเช่นเดียวกับคำใด?
ก. กริยา ข.จริยา ค. มรรยาท ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ข.จริยา
2. “ความประพฤติที่ผู้ประกอบวิชาชีพต่างๆ วิชาชีพถึงปฏิบัติ โดยบัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร”หมายถึง?
ก. จรรยาบรรณ ข. สัตยาบรรณ
ค. มาตรฐานวิชาชีพ ง. จรรยาบรรณวิชาชีพครู
ตอบ ก. จรรยาบรรณ
3. ข้อใดคือความหมายของคำว่า จรรยาบรรณวิชาชีพครู?
ก. แบบแผนที่ข้าราชการควรประพฤติปฏิบัติ
ข. แบบแผนที่ข้าราชการต้องประพฤติปฏิบัติ
ค. แบบแผนที่ข้าราชการยึดประพฤติปฏิบัติ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ข. แบบแผนที่ข้าราชการต้องปฏิบัติ
4. จรรยาบรรณวิชาชีพครู กำหนดขั้นเพื่อวัตถุประสงค์ในข้อใด?
ก. รักษาและส่งเริมเกียรติคุณ ของผู้ประกอบวิชาชีพครู
ข. รักษาและส่งเสริมชื่อเสียง ของผู้ประกอบวิชาชีพครู
ค. รักษาและส่งเสริมฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพครู
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
5. จรรยาบรรณวิชาชีพครู กำหนดไว้ในกฎหมายใด?
ก. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
ข. พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ 2546
ค. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
6. ผู้ที่จะเข้ารับราชการครู ต้องมีอายุตามข้อใด?
ก. 18ปีบริบูรณ์ ข. ไม่ต่ำกว่า18ปีบริบูรณ์
ค. 20ปีบริบูรณ์ ง. ไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
ตอบ ข.ไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์
7. ผู้ที่จะเข้ารับใบประประกอบวิชาชีพครู ต้องมีอายุตามข้อใด?
ก. 18 ปีบริบูรณ์ ข. ไม่ต่ำกว่า18ปีบริบูรณ์
ค. 20ปีบริบูรณ์ ง. ไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
ตอบ ง. ไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
8. มาตรฐานวิชาชีพครู มีจำนวนกี่มาตรฐาน?
ก. 3 มาตรฐาน ข. 4 มาตรฐาน
ค. 5 มาตรฐาน ง. 6 มาตรฐาน
ตอบ ก. 3 มาตรฐาน
9. มาตรฐานวิชาชีพครูในข้อใดที่กำหนดให้เป็นจรรยาบรรณของวิชาชีพ?
ก. มาตรฐานการปฏิบัติตน
ข. มาตรฐานการปฏิบัติงาน
ค. มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์วิชาชีพ
ง. มาตรฐานการสอน
ตอบ ก. มาตรฐานการปฏิบัติตน
10. จรรยาบรรณวิชาชีพครู มรจำนวนเท่าใด?
ก. 4 จรรยาบรรณ ข. 5 จรรยาบรรณ
ค. 6 จรรยาบรรณ ง. 7 จรรยาบรรณ
ตอบ ข. 5จรรยาบรรณ
11.จรรยาบรรณวิชาชีพ ได้แก่?
ก. จรรยาบรรณต่อตนเอง จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
ข. จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
ค. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
12. หน่วยงานใดเป็นผู้กำหนดข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู?
ก. คุรุสภา ข. คณะกรรมการข้าราชการครุและบุคลากรทางการศึกษา
ค. คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ก. คุรุสภา
13. จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539 มีจำนวนกี่ข้อ?
ก. 6 ข้อ ข. 7ข้อ ค. 8 ข้อ ง. 9 ข้อ
ตอบ ง. 9 ข้อ

14. ข้อใดไม่ได้กำหนดไว้ในจรรยาบรรณครู พ.ศ.2539
ก.ครูต้องรักและเมตตาศิษย 
ข. ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู
ค. ครูย่อมเป็นบุคคลที่ประหยัดและมัธยัสถ 
ง. ไม่มีคำตอบ
ตอบ ค. ครูย่อมเป็นบุคคลที่ประหยัดและมัธยัสถ 
15. บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ ของผู้ได้รับใบอนุญาต
มีสิทธิกล่าวกาผู้ได้รับอนุญาต โดยยื่นเรื่องต่อผู้ใด?
ก. คุรุสภา ข. คณะกรรมการคุรุสภา
ค. กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ง. คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตอบ ก. คุรุสภา
16. จากข้อ 15 สิทธิกล่าวโทษสิ้นสุดเมื่อระยะเวลาตามข้อใดนับแต่กล่าวโทษรู้เรื่องการประพฤติผิด
จรรยาบรรณ(แอ๊คกรุ๊ป)ของวิชาชีพครู และรู้ตัวผู้ประพฤติผิด?
ก. พ้น 1 ปี ข. พ้น 2 ปี ค. พ้น 3 ปี ง. พ้น 4 ปี
ตอบ ก. พ้น 1 ปี
17. จากข้อ 15 สิทธิกล่าวโทษสิ้นสุดเมื่อระยะเวลาตามข้อใดนับแต่ผู้กล่าวโทษรู้เรื่องการประพฤติผิด
จรรยาบรรณ(แอ๊ค)ของวิชาชีพ และรู้ตัวผู้ประพฤติผิด?
ก. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. คณะกรรมการคุรุสภา
ค. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ง. คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตอบ ค. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
18. โทษของผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครู มีกี่สถาน?
ก. 4 สถาน ข. 5สถาน ค.6สถาน ง. 7สถาน
ตอบ ข. 5 สถาน
19. ข้อใดไม่เป็นโทษของผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครู?
ก. ยกข้อกล่าวหา ข.ตักเตือน
ค. ภาคทัณฑ  ง. ตัดเงินเดือน
ตอบ ง. ตัดเงินเดือน
20. โทษ พักใบอนุญาต ผู้ประพฤติจรรยาบรรณของวิชาชีพครู มีจำนวนกี่ป?
ก. ไม่เกิน 3 ปี ข. ไม่เกิน 4 ปี
ค. ไม่เกิน 5 ปี ง. ไม่เกิน 6 ปี
ตอบ ค. ไม่เกิน 5 ปี

21. ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู จะขออีกได้เมื่อใด?
ก. พ้น 2 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน ข. พ้น 3 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน
ค. พ้น 4 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน ง. พ้น 5 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน
ตอบ ง. พ้น 5 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน
22. ครู ถูกลงโทษ สำหรับผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครู มีสิทธิดำเนินการเพื่อรักษาสิทธิของ
ตนเอง
ได้ตามข้อใด?
ก. ร้องทุกข์ ข. ร้องเรียน ค. อุทธรณ์ ง. ฎีกา
ตอบ ค. อุทธรณ์
23. จากข้อ 222 ต้องดำเนินการต่อองค์คณะบุคคลในข้อใด?
ก. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข.คณะกรรมการคุรุสภา
ค. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ง. คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตอบ ข.คณะกรรมการคุรุสภา
24. จากข้อ 23 ต้องดำเนินการภายในระยะเวลาเท่าใด?
ก. 7 วันนับแต่วันได้รับแจ้งคำวินิจฉัย
ข.10 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคำวินิจฉัย
ค.15 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคำวินิจฉัย
ง. 30 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคำวินิจฉัย
ตอบ ง. 30 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคำวินิจฉัย
25. ผู้ใดประกอบอาชีพครูโดยไม่ได้รับอนุญาตต้องได้รับระวางโทษตามข้อใด?
ก. จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ข. จำคุกไม่เกิน 1 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ค. จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ง. จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ตอบ ข. จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
26. ผู้ใดประกอบอาชีพครูในระหว่างพักใบอนุญาตต้องได้รับการระวางโทษตามข้อใด?
ก. จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ข. จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ค. จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ง. จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ตอบ ค. จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ

27. ผู้ใดแสดงให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิ์พร้อมจะประกอบวิชาชีพควบคุมโดยไม่ได้รับอนุญาตต้องระวางโทษ
ตามข้อใด?
ก. จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ข. จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ค. จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ง. จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ตอบ ค. จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
28. ครูควรรับผิดชอบต่อสิ่งใดมากที่สุด?
ก. โรงเรียน ข. นักเรียน
ค. ผู้ร่วมงาน ง. ชุมชน
ตอบ ข. นักเรียน
29. อาชีพใดที่ใช้กำลังความคิดและสมองเป็นหลัก?
ก. Technican ข. Labour
ค.Profession ง.Semilabour
ตอบ ค.Profession
30. พฤติกรรมในข้อใดที่แสดงว่าไม่มีความสามารถทางวิชาชีพครู?
ก. ใช้อุปกรณ์การสอนชนิดเดียวกันทุกเนื้อหาวิชา
ข. เขียนจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมได้ถูกต้อง
ค. จัดบรรยากาศในชั้นเรียนได้เหมาะสมทุกเนื้อหาทุกวิชา
ง. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสมกับเนื้อหาวิชา
ตอบ ก.ใช้อุปกรณ์การสอนชนิดเดียวกันทุกเนื้อหาทุกวิชา
31. เรื่องใดต่อไปนี้มิใช่ลักษณะสำคัญของวิชาชีพชั้นสูง?
ก. วิธีการแห่งปัญญา ข. ทักษะและเทคนิคพิเศษ
ค. จรรยาบรรณ ง. เสรีภาพในการใช้วิชาชีพ
ตอบ ข. ทักษะและเทคนิคพิเศษ
32. คำเปรียบเทียบข้อใดชี้ให้เห็นว่าครูเป็นบุคคลที่ควรเคารพนับถือ?
ก. ครู คือ แม่พิมพ์ของชาติ ข. ครู คือเรือจ้าง
ค. ครู คือ ปูชนียบุคคล ง. ครู คือ ผู้ยกระดับสติปัญญาของมนุษย 
ตอบ ค. ครู คือ ปูชนียบุคคล
33. บุคคลใดที่ได้ชื่อว่าเป็นครูคนแรกบุตร?
ก. อุปัชฌาจารย  ข. บุพพาจารย์ บูรพาจารย 
ค. ปรมาจารย์ ง. อาจารย์
ตอบ ข. บุพพาจารย์ บูรพาจารย

34. ถ้าขาดข้อใดจะเป็นอุปสรรคต่อวิชาชีพครูอย่างยิ่ง?
ก. การถ่ายทอดความรู้ ข. ความศรัทธา
ค. เงินเดือน ง. สวัสดิการ
ตอบ ข. ความศรัทธา
35. คุณสมบัติที่สำคัญประจำตัวครู คือข้อใด?
ก. บุคลิกภาพดี ข. ความรู้ดี
ค. มนุษยสัมพันธ์ดี ง. สอนดีมีคุณธรรม
ตอบ ง. สอนดีมีคุณธรรม
36. ธรรมะ ที่ครูยึดมั่นเป็นที่ตั้งคือข้อใด?
ก. อิทธิบาท 4 ข. สังคหวัตถุ 4
ค. พรหมวิหาร 4 ง. มรรคและผล
ตอบ ค. พรหมวิหาร 4
37. จรยาบรรณขอบงครูไทย บัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษรและมีกฎหมายรองรับครั้งแรกเมื่อใด?
ก. พ.ศ. 2504 ข.พ.ศ. 2505 ค. พ.ศ. 2506 ง. 2507
ตอบ ค. พ.ศ. 2506
38. ข้อใดไม่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครูก็ได้ ตามพ.ร.บ. การศึกษา 2542?
ก. คณาจารย์ ข. วิทยากรพิเศษ
ค. ผู้อำนวยการวิทยาลัย ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ข. วิทยากรพิเศษ
39. ครูต้องมีความรู้เกี่ยวกับอะไร?
ก. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ข. ความก้าวหน้าในอาชีพ
ค. การหารายได้จาการสอนพิเศษ ง. การทำผลงานทางวิชาการ
ตอบ ก. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
40. ครูที่ได้รับยกย่องว่า”สอนดี”คือข้อใด
ก. เลือกวิธีสอนใหม่ๆมาใช้ ข. สอนตามแผนการสอน
ค. สอนให้เหมาะกับเนื้อหาและจุดมุ่งหมายง.สอนตามข้อตกลงระหว่างครูกับนักเรียน
ตอบ ค. สอนให้เหมาะกับเนื้อหาและจุดมุ่งหมาย
41. จาการวิจัยของเฉลียว บุรีภักดี พบข้อบกพร่องของครูในด้านใดมากที่สุด?
ก. ไม่รับผิดชอบการงาน มัวเมาในอบายมุข
ข.ประพฤติไม่เหมาะสมแต่งกายไม่สุภาพ
ค. ชอบนินทา,พูดจาไม่สุภาพ
ง. เจ้าอารมณ์ จู้จี้ขี้บ่น
ตอบ ข.ประพฤติไม่เหมาะสมแต่งกายไม่สุภาพ

42. ลักษณะของครูที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐานของคุรุสภา เป็นอย่างไร?
ก. มีบุคลิกภาพดีตรงเวลา ข. รอบรู้สอนดีมีคุณธรรม มุ่งมั่นพัฒนา
ค. เสียสละมีความยุติธรรม ง. มีความประพฤติดี ซอื่ สัตย 
ตอบ ข. รอบรู้สอนดีมีคุณธรรม มุ่งมั่นพัฒนา
43. เป้าหมายสำคัญของครูที่ต้องการให้เกิดแก่ตัวนักเรียนคือข้อใด?
ก. ความรู้ ข. ความดี
ค. ความคิด ง. ความสามารถ
ตอบ ข. ความดี
44. สังคมมีความคาดหวังว่าสิ่งใดสามารถแก้ปัญหาสังคมได้?
ก. เศรษฐกิจ ข. กฎหมาย ค. การศึกษา ง. วัฒนธรรม
ตอบ ค. การศึกษา
45. คำว่า “อาจารย์” แต่เดิมใช้เรียกบุคคลกลุ่มใด?
ก. ครูในโรงเรียน ข. อาจารย์ในมหาวิทยาลัย
ค. พระภิกษุสงฆ์ในพุทธศาสนา ง.บัณฑิต นักปราชญ์
ตอบ ค. พระภิกษุสงฆ์ในพุทธศาสนา
46. วิชาชีพชั้นสูง หมายถึงข้อใด?
ก. Profession ข.Labour ค. Semilabour ง.Techician
ตอบ ก.Profession
47. อาชีพใดเป็นอาชีพที่สังคมยกย่องมากที่สุด?
ก. ตำรวจ ข. ทหาร ค. พยาบาล ง.ครู
ตอบ ง. ครู
48. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด?
ก. วิชาชีพชั้นสูงจะต้องมีจรรยาบรรณ
ข. วิชาชีพชนั้ สูงเน้นการบริการต่อสังคมมากกว่าการหาผลประโยชน 
ค. วิชาชีพชั้นสูงจะต้องอาศัยความรู้ ความคิด สติปัญญาเป็นหลัก
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
49. คำว่า”ครูมาจากรากศัพท์” ภาษาใด?
ก. ภาษาบาลี ข. ภาษาสันสกฤต
ค. ภาษาละติน ง. ภาษากรีก
ตอบ ข. ภาษาสันสกฤต
50. ข้อใดให้ความหมายของคำว่า”ครู” ถูกต้องที่สุด?
ก. ครู คือ แสงเทียนและดวงประทีป ข. ครู คือ แม่พิมพ์ของชาติ
ค. ครู คือ ผู้ให้ ผู้ควรแก่ศิษย์เคารพ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ


http://www.sobtidsure.net
51. ความหมายใดตรงกับว่า”ครู”?
ก. เบา ข. หนัก ค. สูง ง. ต่ำ
ตอบ ข. หนัก
52. ครู คือ ปูชนียบุคคล คำว่า” ปูชนียบุคคล” ตรงกับความหมายใด?
ก. ผู้ที่ควรแก่การยกย่อง ข.ผู้ที่ควรแก่การเคารพ
ค. ผู้ที่ควรแก่การนับถือ ง.ผู้ที่ควรแก่การบูชา
ตอบ ข. ผู้ที่ควรแก่การเคารพ
53. ในบทบัญญัติมาตรฐาน 38 (ก) ตำแหน่งซึ่งมีหน้าที่เป็นผู้สอนในหน่วยงานการศึกษาบัญญัติไว้กี่ตำแหน่ง?
ก. 3 ตำแหน่ง ข. 4 ตำแหน่ง ค. 5 ตำแหน่ง ง. 6 ตำแหน่ง
ตอบ ง. 6 ตำแหน่ง
54. คำว่า”อาจารย์” ตามพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายตรงกับข้อใด?
ก. ผู้สั่งสอน คำที่ใช้เรียกนำหน้าบุคคลเพื่อแสดงความยกย่องว่ามีความรู้ในทางใดทางหนึ่ง
ข. ผู้สั่งสอนและอบรมความประพฤติปฏิบัติ
ค. ผู้สั่งสอนในมหาวิทยาลัย
ง. ผู้สั่งสอนทำหน้าที่ทางด้านวิชาการเรียนการสอน
ตอบ ก. ผู้สั่งสอน คำที่ใช้เรียกนำหน้าบุคคลเพื่อแสดงความยกย่องว่ามีความรู้ในทางใดทางหนึ่ง
55. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 ให้คำกำจัดความไว้ว่า”คณาจารย์” หมายถึงข้อใด?
ก. บุคลากรกระทำหน้าที่หลักในการสอนในสถานศึกษา
ข. บุคลากรหน้าที่หลักในการวิจัยในสถานศึกษา
ค. บุคลากรหน้าที่หลักในการสอนและวิจัยในสถานศึกษา
ง. บุคลากรหน้าที่หลักในการสอนและวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน
ตอบ ง. บุคลากรหน้าที่หลักในการสอนและวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน
56. คำสอนเรื่อง”กัลยาณมิตร”ธรรม 7” คำว่า””ภาวนีโย” ตรงกับข้อใด?
ก. น่ารัก ข. รู้จักพูด ค. น่ายกย่อง ง. อดทนต่อถ้อยคำ
ตอบ ค. น่ายกย่อง
57. หน้าที่ของครูที่จำเป็นมากที่สุด คือข้อใด?
ก. การสอนและอบรม ข. การแนะแนวและชี้นำ
ค. การศึกษาค้นคว้าและวิจัย ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ก. การสอนและอบรม
58.ผู้บริหารการศึกษา หมายถึง ข้อใด?
ก. บุคคลซึ่งหน้าที่สนับสนุนการศึกษา
ข. บุคลซึ่งหน้าที่ผู้บริหารการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
ค. บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษาในระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ง. บุคคลซึ่งทำหน้าที่บริหารการศึกษาทางด้านการเรียนการสอนทั้งสอนทั้งภาครัฐและเอกชน
ตอบ ค. บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษาในระดับเขตพื้นที่การศึกษา
59. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีทั้งหมดกี่คน?
ก. 18 คน ข. 19 คน ค. 20 คน ง. 21 คน
ตอบ ข. 19 คน
60. ผู้ขอรับใบประกอบวิชาชีพครู ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าเท่าใด?
ก. 18 ปีบริบูรณ์ ข. 20 ปีบริบูรณ์ ค. 21 ปีบริบูรณ์ ง. 25 ปี บริบูรณ์
ตอบ ข. 20 ปีบริบูรณ์
61. องค์กรวิชาชีพครูในปัจจุบันคือข้อใด?
ก. สภาวิชาชีพครู ข. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ค. คุรุสภา ง. ถูกทั้ง ข้อ ข. และ ค.
ตอบ ง. ถูกทั้ง ข. และ ค.
62. ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา
ไม่น้อยกว่ากี่ปี?
ก. 1 ปี ข. 2 ปี ค. 3 ปี ง. 4 ปี
ตอบ ก. 1 ปี
63. ประธานกรรมการคุรุสภา คือใคร?
ก. รัฐมนตรี ข. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ค. เลขาธิการคุรุสภา ง. ผู้ทรงวุฒิที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง
ตอบ ง. ผู้ทรงวุฒิที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง
64. คุรุสภา เป็นองค์การตามข้อใด?
ก. องค์การมหาชน
ข. องค์การเอกชน
ค. นิติบุคคลในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ ค. นิติบุคคลในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ
65. หน้าที่ของคุรุสภา ตรงกับข้อใด?
ก. ควบคุมและรักษามาตรฐานวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ข. ควบคุมส่งเสริมสวัสดิการและสนับสนุนการศึกษา
ค. ควบคุมการสอนการเรียนของบุคลากรทางการศึกษา
ง. ควบคุมดูแลผู้บริหารสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
ตอบ ก. ควบคุมและรักษามาตรฐานวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
66. คุรุสภา เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร?
ก. สภาครู ข. สมาคมวิชาชีพครู
ค. องค์กรวิชาชีพครู ง. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตอบ ง. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
http://www.sobtidsure.net/


หลักสูตแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 
1.ระดับชั้นใดที่มีเวลาของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในส่วนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์เท่ากัน 
ก.ประถมศึกษา และ มัธยมศึกษาตอนต้น 
ข.ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย 
ค.มัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย 
ง.ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลายเท่ากันทั้งหมด 
เฉลย ง.
2. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 แบ่งเป็นกี่ระดับ 
ก.3 ระดับ ข.4 ระดับ 
ค.5 ระดับ ง.6 ระดับ 
เฉลย ข.
3.ข้อใด ไม่เกี่ยวข้องกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 
ก.ระดับ ชั้นเรียน ข.ระดับสถานศึกษา 
ค.ระดับเขตการศึกษา ง.ระดับชาติ 
เฉลย ก.
4. การวัดและประเมินผลระดับใดเพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา 
ก. ระดับชั้นเรียน ข. ระดับสถานศึกษา 
ค.ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ง. ระดับชาติ 
เฉลย ง.
5. ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ ได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา และได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นเกณฑ์การวัดประเมินผลการเรียนระดับใด 
ก. ระดับชั้นเรียน ข. ระดับสถานศึกษา 
ค ระดับมัธยมศึกษา ง. ระดับประถมศึกษา 
เฉลย ง.
6. ข้อใด กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการให้ระดับผลการเรียน 
ก. ระดับประถมศึกษาให้ระดับผลการเรียนเป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ และระบบที่ใช้คำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน 
ข. การประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะพึงประสงค์ของผู้เรียนทั้ง 3 ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 
ค. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่านและไม่ผ่านทั้ง 3 ระดับ ง. ระดับมัธยมศึกษาให้ระดับผลการเรียนเป็นระบบตัวเลข 8 ระดับ
เฉลย ง.
7. การรายงานผลการเรียนให้ผู้ปกครองนักเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ข้อใดกล่าวถูกต้อง 
ก. อย่างน้อยภาคเรียนละ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ข. อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง 
ค. อย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 ครั้ง ง. ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง 
เฉลย ง.
8. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 กำหนดเกณฑ์กลางสำหรับการจบเป็นกี่ระดับ 
ก. 2 ระดับ ข. 3 ระดับ 
ค.4 ระดับ ง. 5 ระดับ 
เฉลย ง.
9. ข้อใด ไม่ใช่ เกณฑ์การจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 
ก.ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต 
ข.ผู้เรียนได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต 
ค.เป็นรายวิชาพื้นฐาน 39 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า 39 
ง. ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินที่สถานศึกษา
กำหนด 
เฉลย ง.
10. การเทียบโอนผลการเรียนผู้ที่จะได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่องในสถานที่รับเทียบโอนเป็นเวลาเท่าใด 
ก.1 ภาคเรียน ข. อย่างน้อย 1 ภาคเรียน 
ค. 1 ปีการศึกษา ง. อย่างน้อย 1 ปีการศึกษา 
เฉลย ง.
11. ข้อใดต่อไปนี้ไม่จัดอยู่ในกลุ่มสาระที่จำเป็นสำหรับพื้นฐานทางวิชาการและการเรียนรู้
ก. ภาษาไทย ข. วิทยาศาสตร์
ค. สุขศึกษา ง. คอมพิวเตอร์
เฉลย ค.
12. ข้อใดต่อไปนี้จัดอยู่ในกลุ่มที่ 3 ที่เป็นสาระวิชาพื้นฐานเพื่อการพัฒนาสุขภาพ สุนทรียภาพบุคลิกภาพ การแสดงออกและทักษะการจัดการ
ก. ดนตรี กีฬา ข. ศีลธรรม จริยธรรม
ค. ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ง. วิทยาศาสตร์
เฉลย ก.
13. จุดเน้นในการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระใด ที่ให้เน้นความสามารถด้านการพูดและการโต้ตอบซึ่งจำเป็นในการสื่อสาร เน้นการอ่านเก็บใจความให้เข้าใจ และให้ความสำคัญกับการเขียนภาษาให้ถูกต้อง
ก. ภาษาไทย ข. ภาษาอังกฤษ
ค. วิทยาศาสตร์ ง. คณิตศาสตร์
เฉลย ข.
14. 'มุ่งเพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนา ให้อ่านออกเขียนได้ รวมทั้งภาษาอังกฤษ การคิดคำนวณเป็นรู้จักการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีวิชาชีพที่จำเป็นสำหรับผู้ที่ไม่ประสงค์จะเรียนต่อ' เป็นเป้าหมายในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนของการศึกษาระดับใด
ก. ระดับปฐมวัย ข. ระดับการศึกษาภาคบังคับ
ค. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ง. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เฉลย ข.
15. 'คอร์สแวร์' สัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
ก. การพัฒนาครู ข. วิธีการสอนของครู
ค. การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ง. การพัฒนาเครือข่าย
เฉลย ค.
16. ประกาศนียบัตรหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นเอกสารรับรองวุฒิการศึกษาของ ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หมายถึงเอกสารตามข้อใด
ก. ปพ.1 ข. ปพ.2
ค. ปพ.3 ง. ปพ.4
เฉลย ข.
17. ใครมีอำนาจลงนามในเอกสาร ข้อ 66
ก. ผู้อำนวยการสถานศึกษา ข. ประธานกรรมการสถานศึกษา
ค. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ง. ข้อ ก และ ข ร่วมกัน
เฉลย ง.
18. จากข้อ 66 เมื่อผู้จบการศึกษาขอรับพ้นกำหนด 10 ปี หลังจากสำเร็จการศึกษา ให้สถานศึกษาเรียกเก็บค่าธรรมเนียมฉบับละกี่บาท
ก. 10 บาท ข. 20 บาท
ค.30 บาท ง. ไม่เกิน 100 บาท
เฉลย ค.
19. ใครมีอำนาจในการสั่งซื้อแบบพิมพ์เอกสารตามข้อ 66
ก. ผู้อำนวยการสถานศึกษา ข. ประธานกรรมการสถานศึกษา
ค. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ง. ข้อ ก หรือ ค ตามความเหมะสม
เฉลย ค.
20. ข้อใดหมายถึงแบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก. ปพ.1 ข. ปพ.2
ค. ปพ.3 ง. ปพ.4
เฉลย ค.
21. แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา
ก. แบบ ปพ.1 ข. แบบ ปพ.2
ค.´แบบ ปพ.3 ง. แบบ ปพ.4
เฉลย ค.
22. สถานศึกษาต้องทำหลักฐานตามข้อ 99 จำนวนกี่ชุด
ก. 1 ชุด ข. 2 ชุด
ค. 3 ชุด ง. 4 ชุด
เฉลย ง.
การพัฒนาหลักสูตร
23. การใช้ระบบรหัสวิชาสำหรับสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลขจำนวนกี่หลัก ?
ก. 4 หลัก ข. 5 หลัก
ค. 6 หลัก ง. 7 หลัก
เฉลย ค.
24. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ใช้อักษรอะไรแทน 
ก.อักษร ส ข. อักษร พ ค. อักษร ศ ง. อักษร ง
เฉลย ง.
25. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ใช้อักษรอะไรแทน 
ก.อักษร ส ข. อักษร พ ค. อักษร ศ ง. อักษร ง
เฉลย ก.
26. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ใช้อักษรอะไรแทน 
ก.อักษร ส ข. อักษร พ ค. อักษร ศ ง. อักษร ง
เฉลย ข.
27. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ใช้อักษรอะไรแทน 
ก.อักษร ส ข. อักษร พ ค. อักษร ศ ง. อักษร ง
เฉลย ค.
28. การใช้ระบบรหัสวิชาหลักที่ 2 แสดงถึงอะไร 
ก. ช่วงชั้น ข. ปีที่เรียนวิชา
ค. ประเภทรายวิชา ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ก.
29. การใช้ระบบวิชาหลักที่ 4 แสดงถึงอะไร 
ก. ช่วงชั้น ข. ปีที่เรียนรายวิชา
ค. ประเภทรายวิชา ง. ลำดับของรายวิชาแต่ละประเภท
เฉลย ค.
30. รายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยช่วงชั้นที่ 1 ปีที่ 2 (ป.2) เป็นรายวิชาพื้นฐานลำดับที่ 1 ใช้รหัสวิชาอย่างไร 
ก. ท 1102 ข. ท 11202
ค. ท 12201 ง. ท 12101
เฉลย ง.

http://www.sobtidsure.net/thread.php?fid=11

พรบ.รบ.ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และที่เกี่ยวข้อง 

1. ข้อใด คือหลักการของพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547

ก. ให้มีกฎหมายว่าด้วยพระราชบัญญัติข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา

ข. ให้มีกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ค. ให้มีกฎหมายว่าด้วยพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา

ง. ให้เป็นกฎหมายว่าด้วยพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการครู และบุคลากรทาง

การศึกษา 

2. เหตุผลสำคัญที่ต้องตราพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547

ก. มาตรา 54 หมวด 7 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กำหนดให้

บัญญัติขึ้น 

ข. เพื่อให้มีระบบข้าราชการครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาขึ้นมาใหม่

ค. ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอยู่ภายใต้การกำกับดูแลขององค์กรกลาง

เดียวกัน 

ง. เพื่อกระจายอำนาจการบริหารงานบุคคลสู่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา

3. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มีผลบังคับใช้เมื่อใด

ก. 23 พฤศจิกายน 2547

ข. 23 ธันวาคม 2547

ค. 24 พฤศจิกายน 2547

ง. 24 ธันวาคม 2547 

4. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 ส่งผลให้ยกเลิกกฎหมาย

ฉบับใด 

ก. พระราชบัญญัติคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2523 และแก้ไขเพิ่มเติม

ข. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูพ.ศ. 2523 และแก้ไขเพิ่มเติม

ค. พระราชบัญญัติครู พ.ศ. 2488 และแก้ไขเพิ่มเติม

ง. ถูกทุกข้อ

5. ข้อใด ไม่ใช่บุคลากรทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการ

ศึกษา พ.ศ. 2547

ก. ครู

ข. ผู้บริหารสถานศึกษา

ค. ผู้บริหารการศึกษา

ง. ผู้สนับสนุนการศึกษาทำหน้าที่บริการ

6. ข้อใด ไม่ใช่หน่วยงานทางการศึกษาพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทาง

การศึกษา พ. ศ. 2547

ก. สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐ

ข. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ค. สำนักงานการศึกษานอกโรงเรียน

ง. หน่วยงานตามที่ ก.ค.ศ.กำหนด

7. คณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เรียกชื่อย่อว่า ก.ค.ศ ซึ่ง

มีทั้งหมด 21 คน มีใครเป็นรองประธานกรรมการ

ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

ข. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ค. เลขาธิการ ก.ค.ศ

ง. ผู้ที่คณะกรรมการเลือก
8. เลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการในคณะกรรมการก.ค.ศ. มีจำนวนเท่าใด
             ก. 2 คน
            ข. ไม่เกิน 2 คน
            ค. 3 คน
            ง. ไม่เกิน 3 คน
9. กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน ก.ค.ศ. ซึ่งมีจำนวน 7 คน กลุ่มใดที่มีจำนวนแตกต่างไปจากพวก
            ก. ผู้แทน ผอ.เขตพื้นที่การศึกษา
            ข. ผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษา
            ค. ผู้แทนข้าราชการครู
            ง. ผู้แทนบุคลากรทางการศึกษาอื่น
10. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน ก.ค.ศ.ซึ่ง ครม.แต่งตั้งจำนวน 7 คน ไม่ได้แต่งตั้งจากบุคคลที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงในด้านใด
            ก. ด้านการศึกษา ด้านการศึกษาพิเศษ หรือด้านกฎหมาย
            ข. ด้านการบริการจัดการภาครัฐ ด้านการบริหารองค์กร หรือการบริหารงานบุคคล
            ค. ด้านบริหารธุรกิจ หรือด้านเศรษฐศาสตร์
            ง. ด้านรัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง

11. กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนบุคลากรทางการศึกษาอื่นใน ก.ค.ศ. ต้องมีคุณสมบัติด้านวุฒิการศึกษาและ

ประสบการณ์ตามข้อใด 

                ก. ไม่กำหนดคุณวุฒิแต่มีประสบการณ์ด้านสนับสนุนการศึกษาไม่น้อยกว่า 5 ปี

ข. คุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีและมีประสบการณ์ด้านสนับสนุนไม่น้อยกว่า 5 ปี

ค. คุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีและมีประสบการณ์ ด้านสนับสนุนการศึกษาไม่น้อย

กว่า 15 ปี

ง. คุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการศึกษาและ มีประสบการณ์สนับสนุนการศึกษาไม่น้อย

กว่า 15 ปี

12. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน ก.ค.ศ.

มีวาระในการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี และเป็นได้กี่วาระ 

ก. คราวละ 3 ปี/เป็นได้ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน

ข. คราวละ 3 ปี/เป็นติดต่อกันกี่วาระก็ได้

ค. คราวละ 4 ปี/เป็นได้ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน

ง. คราวละ 4 ปี/เป็นติดต่อกันกี่วาระก็ได้

13. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการ

ศึกษาใน ก.ค.ศ.

ก. พ้นจากตำแหน่งตามวาระ

ข. ขาดคุณสมบัติหรือพ้นจากการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ค. ตาย หรือ ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ

ง. ถอดถอนโดยคณะรัฐมนตรีตามมติ ก.ค.ศ.ด้วยคะแนนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน

กรรมการ 

14. การแต่งตั้ง อ.ก.ค.ศ. วิสามัญ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาในเรื่องใดของ ก.ค.ศ. ที่กำหนดเงื่อนไขให้

ตั้งจากกรรมการ ก.ค.ศ. ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งอย่างน้อยสองคน และคณะกรรมการ ก.ค.ศ.ซึ่งเป็นผู้แทน

ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนอนุกรรมการทั้งหมด 

ก. การสรรหา บรรจุแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นกรณีพิเศษ

ข. การพิจารณาวินิจฉัยตีความปัญหาที่เกิดจากการใช้บังคับกฎหมาย

ค. การดำเนินการเรื่องวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์และการร้องทุกข์

ง. ถูกทุกข้อ





 15. คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้แทนผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาแตกต่างจากกรรมการ

ซึ่งเป็นผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาซึ่งเป็นคณะกรรมการใน 

ก.ค.ศ. ด้านใด

ก. ด้านการมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพและไม่เคยถูกพักใช้หรือเพิกถอนใบประกอบ

วิชาชีพ 

ข. ด้านประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่

ค. ด้านเป็นผู้ได้รับการยอมรับในเรื่องความซื่อสัตย์ ยุติธรรม

ง. ด้านการไม่เคยมีประวัติเสื่อมเสียทางจริยธรรม จรรยาบรรณและการประกอบอาชีพ

16. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของ ก.ค.ศ.

ก. เสนอแนะให้คำปรึกษาแก่นายกรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายการผลิตและการบริหาร

บุคคล 

ข. กำหนดนโยบายวางแผน กำหนดเกณฑ์อัตรากำลัง

ค. เสนอแนะให้คำปรึกษาแก่ ครม.เกี่ยวกับการปรับปรุงค่าครองชีพสวัสดิการและ

ประโยชน์เกื้อกูล 

ง. ออกกฎ ก.ค.ศ. ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการบริหารงาน

บุคคล  

17. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของ ก.ค.ศ.

ก. พัฒนาหลักเกณฑ์ วิธีการ มาตรฐานการบริหารบุคคล พิทักษ์ระบบคุณธรรม

ข. กำหนดวิธีการเงื่อนไขการจ้างเพื่อบรรจุแต่งตั้งบุคคลรวมทั้งกำหนดค่าตอบแทน

ค. ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาเสริมสร้างขวัญกำลังใจ สวัสดิการ สิทธิประโยชน์

ง. เสนอแต่งตั้ง อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาต่อรัฐมนตรี

18. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของ ก.ค.ศ.

ก. กำหนดมาตรฐาน พิจารณาและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย การออกจาก

ราชการ 

ข. กำกับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลการบริหารงานบุคคล

ค. รายงานต่อรัฐมนตรีกรณีส่วนราชการอ.ก.ค.ศ. เขตฯ คณะกรรมการไม่ปฏิบัติ

ตามพระราชบัญญัตินี้ 

ง. รับรองคุณวุฒิผู้ได้รับปริญญาประกาศนียบัตรทางการศึกษา





 19. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของ ก.ค.ศ.

ก. ส่งเสริมสนับสนุน ประสานงานและให้คำปรึกษา แนะนำการบริหารงานบุคคล

แก่เขตพื้นที่การศึกษา 

ข. กำหนดค่าธรรมเนียมต่างๆที่ต้องดำเนินการตาม พระราชบัญญัตินี้

ค. จัดทำทะเบียนประวัติและควบคุมการเกษียณอายุราชการครูและบุคลากรทางการ

ศึกษา 

ง. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่กฎหมายกำหนด 

20. สำนักงาน ก.ค.ศ.มีฐานะเป็นกรมอยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อบุคคลใด

ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

ข. นายกรัฐมนตรี

ค. ปลัดกระทรวง

ง. คณะรัฐมนตรี

21. ข้อใดไม่ไช่อำนาจหน้าที่ของสำนักงาน ก.ค.ศ.

ก. พัฒนาข้อมูลและจัดทำแผนอัตรากำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ข. กำกับติดตามตรวจสอบการปฏิบัติของหน่วยงานทางการศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษา

ค. จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลข้าราชการครูและบุคลากรทางการ

ศึกษา 

ง. พัฒนาหลักเกณฑ์ วิธีการ มาตรฐานการบริหารบุคคล พิทักษ์ระบบคุณธรรม

22. ใครเป็นประธาน อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา

ก. ผู้ที่ ก.ค.ศ.แต่งตั้ง

ข. ผู้ที่เป็นตัวแทน ก.ค.ศ.

ค. ผู้ที่ได้รับการเลือกจากอนุกรรมการ

ง. กรรมการโดยตำแหน่งคนใดคนหนึ่ง

23. องค์ประกอบของคณะอนุกรรมการใน อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษาคือข้อใด

ก. ประธาน อนุกรรมการโดยตำแหน่งอนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

ข. อนุกรรมการโดยตำแหน่ง อนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ อนุกรรมการผู้แทนข้าราชการ

ครูฯ 

ค. ประธาน อนุกรรมการโดยตำแหน่งอนุกรรมการผู้แทนข้าราชการครูฯ

ง. ประธาน อนุกรรมการโดยตำแหน่งผู้ทรงคุณวุฒิ และอนุกรรมการผู้แทนข้าราชการครูฯ





 24. อนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน อ.ก.ค.ศ. ต้องมีบุคคลในเขตพื้นที่การศึกษานั้นจำนวนเท่าใด

ก. 1 คน

ข. อย่างน้อย 1 คน

ค. 2 คน

ง. อย่างน้อย 2 คน

25. อนุกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน อ.ก.ค.ศ. ได้มาโดยวิธีใด

ก. การคัดเลือก

ข. การสรรหา

ค. การเลือกตั้ง

ง. วิธีการอื่น ตามที่ ก.ค.ศ กำหนด

26. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

ก. อนุกรรมการเมื่อรวมกับประธานแล้วมีจำนวน 9 คน

ข. อนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิได้จากผู้มีความรู้สามารถและประสบการณ์ด้านการศึกษา

และด้านอื่น 

ค. อนุกรรมการผู้แทนครูและบุคลากรทางการศึกษามีได้ไม่เกิน 1 คน

ง. ผู้ที่จัดให้มีการได้มาของอนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิคือผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา

27. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ฯ

ก. ให้ความเห็นชอบการบรรจุแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ข. ให้ความเห็นชอบการพิจารณาความดีความชอบของครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัด

เขตพื้นที่การศึกษา 

ค. จัดทำและพัฒนามาตรฐานข้อมูลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ง. ให้ความเห็นชอบการบริหารงานบุคคลในเขตพื้นที่การศึกษาที่ไม่ใช่อำนาจหน้าที่

สถานศึกษา 

28. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ก. เป็นผู้บริหารราชการและเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในเขตพื้นที่การศึกษา

ข. รับผิดชอบการปฏิบัติราชการที่เป็นอำนาจหน้าที่ของอ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

ค. เสนอแนะการบรรจุแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ง. จัดทำทะเบียนประวัติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา





 29. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ก. จัดทำแผนและส่งเสริมการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ข. พิจารณาความดีความชอบของผู้บริหาร ร.ร.ข้าราชการ และลูกจ้างประจำในสังกัดสำนัก

งานเขตพื้นที่การศึกษา 

ค. จัดทำมาตรฐานคุณภาพงาน กำหนดภาระงานขั้นต่ำและเกณฑ์ประเมินผลงาน

ข้าราชการ 

ง. จัดทำรายงานการบริหารงานบุคคลเสนอต่อ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา

30. ข้อใดคืออำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการ

ศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษา 

ก. กำกับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษา

ข. กำหนดความต้องการอัตรากำลังและตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ค. เสนอความคิดเห็นการบริหารงานบุคคลต่อผู้บริหารสถานศึกษา

ง. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาและตามที่ ก.ค.ศ.มอบหมาย


http://www.sobtidsure.net/read.php?tid=1965

 

 
ประพันธ์ เวารัมย์ [183.88.52.xxx] เมื่อ 14/01/2017 13:57
1
อ้างอิง

ประพันธ์ เวารัมย์
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา หรือครูผู้ช่วย

1.   จรรยาบรรณครูมีกี่ประการ
ก.   7  ประการ         
ข.    8 ประการ
ค.   9 ประการ         
ง.  10 ประการ
2.   สิ่งที่บ่งบอกว่าครูมีสิทธิในการสอนโดยชอบด้วยกฎหมายคือข้อใด
ก.   ใบอนุญาตสอน         
ข.   ใบควบคุมการสอน
ค.   ใบประกอบวิชาชีพ
ง.   ใบกำกับวิชาชีพ
3.   หน่วยงานใดมีหน้าที่ในการออกใบอนุญาตตามข้อ 2
ก.   คุรุสภา
ข.   สมศ.
ค.   ก.ค.ศ.
ง.   สพท.
4.   ครูจำเป็นต้องปฏิบัติตามข้อใด
ก.   มาตรฐานวิชาชีพ
ข.   จรรยาบรรณวิชาชีพ
ค.   ระเบียบวินัย
ง.   ถูกทุกข้อ
5.   โทษที่อาจได้รับสำหรับผู้ประพฤติผิดมาตรฐานหรือจรรยาบรรณวิชาชีพครู
ก.   ถูกลงโทษทางอาญา
ข.   ถูกลงโทษทางวินัย
ค.   ถูกเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพ
ง.   เฉพาะข้อ ข และ ค
6.   ความสำคัญของคุรุสภา
ก.   องค์กรกลางในการบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการครู
ข.   องค์กรครู
ค.   สภาของครูและบุคลากรทางการศึกษา
ง.   เป็นหน่วยงานทางการศึกษา
7.   ตำแหน่งข้าราชการครูเมื่อแรกบรรจุ
ก.   ครูผู้ช่วย
ข.   ผู้ช่วยครู
ค.   อาจารย์ 1 ระดับ 3
ง.   ข้อ ก และ ค ถูก
8.   ผู้ที่ลงนามในคำสั่งบรรจุแต่งตั้งข้าราชการครูที่บรรจุใหม่
ก.   ผู้อำนวยการสถานศึกษา
ข.   ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ค.   ผู้อำนวยการสถานศึกษาในนามเลขาธิการ กพฐ.
ง.   ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในนามเลขาธิการ กพฐ.
9.   ข้อใดต่อไปนี้เป็นวิทยฐานะขั้นสูงสุดของข้าราชการครู
ก.   ชำนาญการ
ข.   ชำนาญการพิเศษ
ค.   เชี่ยวชาญ
ง.   เชี่ยวชาญพิเศษ
10.   เมื่อข้าราชการครูถูกลงโทษควรดำเนินการตามข้อใดก่อน
ก.   ร้องเรียน
ข.   ร้องทุกข์
ค.   อุทธรณ์
ง.   ฟ้องศาลปกครอง
11.   จากข้อ 10 ต้องดำเนินการภายในกี่วัน
ก.   15 วัน
ข.   30 วัน
ค.   60 วัน
ง.   90 วัน
12.   สถานศึกษาจัดอยู่ในส่วนราชการใดของกระทรวงศึกษาธิการ
ก.   ส่วนกลาง
ข.   ส่วนภูมิภาค
ค.   ส่วนเขตพื้นที่การศึกษา
ง.   ส่วนสถานศึกษานิติบุคคล

13.   สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.)เป็นหน่วยงานตามข้อใด
ก.   เป็นสถานศึกษา
ข.   เป็นหน่วยงานทางการศึกษา
ค.   เป็นส่วนราชการ
ง.   ถูกทุกข้อ
14. ใครเป็นองค์กรกลางบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการครู
ก.   ก.ค.
ข.    ก.ค.ศ.
ค.   อ.ก.ค. 
ง.   สพฐ.   
15. พ.ร.บ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เป็นกฎหมายที่ตราขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตราใด 
ก.   มาตรา  43
ข.   มาตรา  81
ค.   มาตรา  289
       ง. มาตรา 336
16.  การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารงานทั่วไป กระจายให้กับใคร
ก.   คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา      
ข.   สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ค.   สถานศึกษา               
ง.    ถูกทุกข้อ
17. ประเภทการลาของข้าราชการครู
ก.   7 ประเภท
ข.   8 ประเภท
ค.   9 ประเภท
ง.   10 ประเภท
18. การลาตามข้อใดที่ต้องให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอนุญาต
ก.   ลากิจส่วนตัว
ข.   ลาป่วย
ค.   ลาคลิดบุตร
ง.   ลาอุปสมบท
19.   ข้อใดคือเครื่องแบบปฏิบัติราชการของข้าราชการครู
ก.   เครื่องแบบสีกากีคอพับ
ข.   เครื่องแบบพิธีการ
ค.   เครื่องแบบปกติขาว
ง.   ถูกทุกข้อ
20.   ข้าราชการครูต้องปฏิบัติราชการครบกี่ปีถึงมีสิทธิ์ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ก.   4 ปี
ข.   5 ปี
ค.   6 ปี
ง.   7 ปี
21.   อัตราส่วนนักเรียนกี่คนต่อครูหนึ่งคนในการพาไปศึกษานอกสถานศึกษา
ก.   10 คน
ข.   20 คน
ค.   30 คน
ง.   40 คน
22.   'เด็ก'ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก หมายถึงผู้มีอายุไม่เกินกี่ปี
ก.   13 ปีบริบูรณ์
ข.   15 ปีปริบูรณ์
ค.   18 ปีบริบูรณ์
ง.   20 ปีบริบูรณ์
23.   โทษที่นักเรียนควรได้รับหากประพฤติระเบียบวินัยของสถานศึกษามีกี่ประเภท
ก.   3 ประเภท
ข.   4 ประเภท
ค.   5 ประเภท
ง.   6 ประเภท
24.   เวลาทำงานปกติของข้าราชการครูคือ
ก.   08.00 - 16.00น.
ข.   08.30-16.00 น.
ค.   08.00-16.30 น.
ง.   08.30-16.30น.


25.  ข้อใดคือปรัชญาพื้นฐานของแผนการศึกษาแห่งชาติ
ก.   เศรษฐกิจพอเพียง              
ข.   การศึกษาตลอดชีวิต
ค.   เก่ง ดี  มีสุข              
ง.    ความรู้คู่คุณธรรม
26.ข้อใดคือลักษณะสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้(Knowledge- Based  Economy : KBE)
ก.   การใช้ความรู้และนวัตกรรมเป็นปัจจัยหลักในการผลิตและพัฒนา
ข.   การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ค.   การพัฒนาความรู้และการเรียนรู้ขององค์กรตลอดเวลา
ง.     ถูกทุกข้อ
27. กิจกรรมใดที่สถานศึกษาจัดขึ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันสารเสพติดและโรคเอดส์ได้
ก.   การแนะแนว     
ข.   การกีฬา
ค.   การนันทนาการ  
ง.   ถูกทุกข้อ
28. หัวใจของการปฏิรูปการศึกษา คือข้อใด
ก.   การปฏิรูปการเรียนรู้
ข.   การบริหารการเรียนการสอน
ค.   การประกันคุณภาพการศึกษา      
ง.   ประสิทธิภาพของการบริหารสำนักงาน
29. สอดคล้องกับ PDCA มากที่สุด
ก.   กระบวนการบริหาร
ข.   กระบวนการเรียนการสอน
ค.   กระบวนการปฏิรูปการเรียนรู้      
ง.   กระบวนการพัฒนาคุณภาพ
30.   ข้อใดไม่สอดคล้องกับการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรและสื่อการเรียน
ก.   Activity-based
ข.   SMEs
ค.   GPA
ง.   NT
31.   ท่านคิดว่ากิจกรรมใดเป็นการยกระดับมาตรฐานวิชาชีพครู ได้ดีที่สุด
ก.   พัฒนามาตรฐานและจรรยาบรรณ
ข.   การออกและเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพครู
ค.   ผลิตครพันธ์ใหม่
ง.   วิจัยและพัฒนามาตรฐานครู
32. การวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเน้นการวิจัยในลักษณะใด
   ก. การวิจัยในชั้น
   ข. การวิจัยเพื่อพัฒนา
   ค. การวิจัยเพื่อใช้เป็นผลงานวิชาการ
   ง. การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้
33. ข้อใดคือเครื่องมือสำคัญของครูในการจัดการเรียนรู้
   ก.  การจัดทำสาระของหลักสูตร
   ข.  การจัดหน่วยการเรียนรู้
   ค.  การจัดทำแผนจัดการเรียนรู้
   ง.   การกำหนดอัตราเวลาเรียน
34. กำหนดสาระการเรียนรู้เป็นรายภาคและกำหนดจำนวนเป็นหน่วยกิต
   ก. ช่วงชั้นที่ 1   
   ข. ช่วงชั้นที่ 2
   ค. ช่วงชั้นที่ 3   
   ง. ช่วงชั้นที่ 4
35. ข้อใด คือเกณฑ์พิจารณาที่ใช้เวลาจัดการเรียนรู้
   ก. 20 ชั่วโมงต่อภาคเรียนมีค่าเท่ากับ1 หน่วยกิต
   ข. 40 ชั่วโมงต่อภาคเรียนมีค่าเท่ากับ1 หน่วยกิต
   ค. 20 ชั่วโมงต่อปีมีค่าเท่ากับ1 หน่วยกิต
   ง. 40ชั่วโมงต่อปีมีค่าเท่ากับ1 หน่วยกิต
36. ข้อใดสอดคล้องกับหลักสูตรท้องถิ่นมากที่สุด
   ก. หลักสูตรแกนกลาง
   ข. หลักสูตรสถานศึกษา
   ค. หลักสูตรบูรณาการ
   ง. หลักสูตรร้อยละ30
37. ผู้อำนวยการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก.   ผู้บริหารโรงเรียน   
ข.   ครูผู้สอน
ค.   สถานศึกษา   
   ง.    กรมวิชาการ
38.   ข้อใดคือรูปแบบการจัดการศึกษา ตาม พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 
ก. การศึกษาในระบบ      
ข. การศึกษาตามอัธยาศัย
ค. การศึกษานอกระบบ        
       ง.  ถูกทุกข้อ
39. ตามพรบ. การศึกษาแห่งชาติ กำหนดให้กระทรวงกระจายอำนาจในด้านใดบ้าง
ก.   บริหารบุคคล งบประมาณ บริหารจัดการและบริหารทั่วไป
ข.   วิชาการ บริหารบุคคล งบประมาณ และการมีส่วนร่วม
ค.   วิชาการ งบประมาณ บริหารบุคคล และการบริหารทั่วไป
ง.   งบประมาณ บริหารบุคคล การมีส่วนร่วม และการบริหารทั่วไป
40.   จุดเน้นของการจัดการศึกษาตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 คือข้อใด
ก.    ความรู้คู่คุณธรรม                      
ข.   ความรู้ คุณธรรม และกระบวนการเรียนรู้
ค.    ความรู้กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการ
ง.    ความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสม
41. สิ่งใดที่ครูผู้สอนควรยึดเป็นหลักสำคัญที่สุดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ก.   หลักสูตร
ข.   แผนการสอน
ค.   จุดประสงค์การเรียนรู้
       ง.    สื่อการเรียนการสอน
42. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนด เริ่มใช้ในโรงเรียนทั่วไปตั้งแต่ปีการศึกษาใดเป็นต้นไป
ก.   2545  
ข.   2546
ค.   2547
ง.   2548
43. ข้อใดไม่ใช่ประเภทของสื่อการสอน
ก.   วัสดุ
ข.   อุปกรณ์
ค.   วิธีการ
ง.   นวตกรรม

44. ห้องสมุดประชาชนจัดเป็นสื่อตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก.   สื่อสิ่งพิมพ์
ข.   สื่อเทคโนโลยี
ค.   สื่ออื่นๆ
ง.   สื่อบุคคล
45. ข้อใดสื่อประเภทวัสดุ หรือซอฟต์แวร์
ก.   เครื่องฉายสไลด์
ข.   เครื่องวีดีโอ
ค.   CAI
   ง.    ไม่มีข้อถูก
46. กำหนดสาระการเรียนรู้เป็นรายภาคและกำหนดจำนวนหน่วยกิตให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ
มาตรฐานและสาระการเรียนรู้
   ก. ช่วงชั้นที่ 1   
   ข. ช่วงชั้นที่ 2
   ค. ช่วงชั้นที่ 3   
   ง. ช่วงชั้นที่ 4
47.   พฤติกรรมและการกระทำด้านการปฏิบัติงานของนักเรียนคือข้อใด
      ก. พุทธิพิสัย             
      ข. จิตพิสัย
      ค. ทักษะพิสัย           
      ง. บูรณาการ
48. จัดให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก
      ก. หลักการจัดการศึกษา         
      ข. จุดมุ่งหมายการจัดการศึกษา
      ค. เนื้อหาสาระการศึกษา        
      ง. สื่อการสอน
49. เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ความจริงโดยวิธีการที่เชื่อถือได้
      ก. การวิจัย                  
      ข. ตัวแปรการวิจัย
      ค. ความแปรปรวน       
      ง. กลุ่มตัวอย่าง

50. ไม่ใช่ประเภทตัวแปรของการวิจัย
ก.   ตัวแปรต้น
ข.   ตัวแปรตาม
ค.   ตัวแปรสอดแทรก
ง.   ตัวแปรถดถอย
51. หากจะเปรียบเทียบความแตกต่างของตัวอย่าง 2 กลุ่มจะใช้สถิติใด
ก.   พิสัย
ข.   ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ค.   T-test
ง.   F-test
52. นโยบายที่กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ครูทำวิจัย
ก.   การวิจัยเพื่อพัฒนา
ข.   การวิจัยสมบูรณ์แบบ
ค.   การวิจัยในชั้น
ง.   การวิจัยหลายรูปแบบ
53. ท่านจะจัดการเรียนแบบอีเลินนิ่ง เข้ากับสื่อการเรียนรู้กลุ่มใด
   ก. ฮาร์ดแวร์   
          ข. ซอฟต์แวร์
   ค. เทคนิควิธี   
          ง. นวตกรรม
54. เนื้อหาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเรียกว่าอะไร
      ก. มาตรฐาน             
      ข. กลุ่มการเรียน
      ค. สาระการเรียนรู้     
      ง. กลุ่มสาระเรียนรู้
55. งานใดที่ช่วยให้นักเรียนปรับตัวเข้ากับเพื่อนในห้องเรียนได้ดีที่สุด
   ก. งานสภานักเรียน         
          ข. งานเสริมสร้างวินัย
   ค. งานกิจกรรมสหกรณ์   
          ง. งานแนะแนว


56. ข้อใดคือภาพของเด็กไทยตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
   ก. คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น          
ข. ใจกว้าง กายโต ทักษะสูง                                                  
ค. คนเก่ง คนดี มีความสุข                    
   ง. คิดกว้าง คิดไกล ใฝ่เรียนรู้
57. แบบประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สถานศึกษาจะต้องจัดทำขึ้นมาเอง
     ก. แบบ ปพ.1
       ข. แบบ ปพ.2
        ค.´แบบ ปพ.3
       ง. แบบ ปพ.4
58. หากมีความมุ่งหมายที่จะให้นักเรียนสามารถตัดสินใจและแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองควรใช้บริการแนะแนวข้อใด
ก.   บริการสนเทศ                               
ข.    บริการให้คำปรึกษา
ค.   บริการแก้ปัญหา ป้องกันปัญหาและส่งเสริมพัฒนานักเรียน
ง.   บริการติดตามและประเมินผลนักเรียน
59 .กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก.   กิจกรรมลูกเสือเนตรนารี
ข.   กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย
ค.   กิจกรรมแนะแนว
ง.   ถูกทุกข้อ
60. Child Center ใครเป็นผู้คิดค้นและใช้คำนี้เป็นคนแรก       
ก.   Carl  R. Rogers      
ข.    John  Due
ค.   Benjamin  S. Bloom    
       ง.  Thorn Dike
61. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมีความหมายตรงกับข้อใด 
     ก. การส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง
     ข. การเรียนในเรื่องที่สอดคล้องกับกับความสามารถและความต้องการของตนเอง
     ค. การที่ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองอย่างเต็มที่   
     ง. ทุกข้อที่กล่าวมา
62. การวัดผลประเมินผลที่เน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลางควรใช้วิธีใดต่อไปนี้
     ก. Portfolio              
     ข. Performance
     ค. Authentic Measurement           
     ง. ทั้ง 3 ข้อ
63. การวัดประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก.   เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนของครู
ข.   เพื่อปรับปรุงนักเรียน
ค.   เพื่อตัดสินผลการเรียน
ง.   ถูกทุกข้อ
64. เทคนิคการจัดวิธีการจัดการเรียนการสอน ที่เรียกว่า การเรียนแบบใช้กรณีศึกษา  คือ
       ก. Inquiry                
      ข. Discovery
       ค. Questioning                
      ง. Case Study
65.   การเรียนรู้ที่มีความหมายแก่ผู้เรียน หมายความว่าอย่างไร
       ก. การเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
       ข. ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้และคำตอบต่างๆ ที่ตนต้องการ
       ค. การเรียนที่ผู้เรียนค้นพบด้วยตนเอง มีส่วนทำให้เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและจดจำได้ดี
        ง. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
66. รูปแบบใดเป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้ เรียนเป็นสำคัญ
        ก.   CIPPA  MODEL       
ข.   CIPP  MODEL 
ค.   Integration                 
      ง. ถูกทั้ง ก. และ ค.
67.   การประเมินในข้อใดสำคัญที่สุด
ก.   การแก้ไขพัฒนาผู้เรียน
ข.   การพัฒนาระบบการให้ระดับคะแนน
ค.   การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร
ง.   การตัดสินให้ผ่านและไม่ผ่านในการสอบปลายปี


68.   เครื่องมือที่เหมาะสมกับการวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยคือข้อใด
ก.   แบบสังเกต
ข.   แบบสัมภาษณ์
ค.   แบบสำรวจรายการ
ง.   แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
  69. เครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
ก.   แบบสำรวจรายการ
ข.   การสังเกต
ค.   การสัมภาษณ์
ง.   การทดสอบ
   70. ต่อไปนี้ข้อใดเป็นบทบาทหน้าที่ของครู
           ก. เตรียมการสอน                 
          ข. จัดทำแผนการสอน
           ค. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน         
          ง  ทุกข้อที่กล่าวมา
71.   ข้อทดสอบที่มีคุณภาพดีควรมีลักษณะอย่างในข้อใดมากที่สุด
ก.   ความเชื่อมั่น
ข.   ความยากง่าย
ค.   อำนาจจำแนก
ง.   ความตรงตามเนื้อหา
72.   กลุ่มจิตวิทยาใดที่สอดคล้องกับการสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา
ก.   กลุ่มโครงสร้างของจิต (Structuralism)
ข.   กลุ่มหน้าที่ของจิต (Functionalism)
ค.   กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behovioralism)
ง.   กลุ่มเกสตอลท์ (Gestaltism)
73.   ข้อใดแสดงว่าครูใช้จิตวิทยาในการสอนมากที่สุด
ก.   สอนในส่งที่มีความหมายต่อเด็ก
ข.   สอนในสิ่งที่เด็กสนใจ
ค.   สอนโดยใช้วิธีการหลากหลาย
ง.สอนให้เด็กนำไปใช้ได้จริง


74.   การมีหลักและวิธีสอนที่ดีให้ประโยชน์ในเรื่องใด
ก.   นักเรียนสนใจเรียน
ข.   ประหยัดเวลาในการสอน
ค.   นักเรียนเกิดความคิดริเริ่ม
       ง.    การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
75.   เอด การ์  เดล  จัดเอาประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรมมากที่สุดไว้ตรงฐานของกรวย เพื่อแสดงให้เห็นว่าเป็นประสบการณ์ที่เป็นอย่างไร
ก.   เป็นนามธรรมมากที่สุด
ข.   จัดได้ง่ายที่สุด
ค.   เป็นจริงมากที่สุด
ง.   ทำให้เสียเวลาในเรียนน้อยที่สุด
76.   พลศึกษาควรใช้การวัดผลวิธีใดบ้าง
ก.   สังเกต
ข.   การปฏิบัติ
ค.   แบบทดสอบ
ง.   ถูกทุกข้อ
77.   ระดับช่วงชั้นของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 แบ่งออกเป็นกี่ช่วงชั้น
ก.   1  ช่วงชั้น
ข.   2  ช่วงชั้น
ค.   3  ช่วงชั้น
ง.   4  ช่วงชั้น
78.   ข้อใดไม่ใช่ขอบข่ายกิจกรรมแนะแนวของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
ก.   งานวิเคราะห์วิจัย
ข.   งานสารสนเทศ
ค.   งานให้คำปรึกษา
       ง.  งานติดตามประเมินผล
79.   “ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง” เป็นความหมายตรงข้อใด
ก.   ประกันคุณภาพ
ข.   ประกันประสิทธิภาพ
ค.   มาตรฐานการศึกษา
   ง.    การนิเทศภายใน
80.   มาตรฐานการศึกษาชาติมีกี่มาตรฐาน
ก.   3 มาตรฐาน
ข.   4 มาตรฐาน
ค.   5 มาตรฐาน
ง.   6 มาตรฐาน
81.   หน่วนงานที่มีหน้าที่ประเมินภายนอก
ก.   สมศ.
ข.   สกศ.
ค.   สพฐ.
ง.   ก.ค.ศ.
82.   ต้องมีการประเมินภายในตามข้อใด
ก.   ทุกปี
ข.   ทุก 2 ปี
ค.   ทุก 5 ปี
ง.   ทุก 6 ปี
83.   มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมีกี่มาตรฐาน
ก.   3 มาตรฐาน
ข.   11 มาตรฐาน
ค.   14 มาตรฐาน
ง.   18 มาตรฐาน
84.   กระทรวงศึกษาธิการกำหนดประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษกีด้าน
ก.   5 ด้าน
ข.   8 ด้าน
ค.   10 ด้าน
ง.   12 ด้าน
85. การที่บุคคลได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปีที่รัฐจัดให้ ถือว่าเป็นเรื่องใด
ก.   สิทธิ                  
ข.   เสรีภาพ
ค.   หน้าที่               
ง.   ความเสมอภาค

86. รัฐสภา มีสมาชิกทั้งหมดกี่คน
ก.   200  คน           
ข.   400  คน
ค.   500  คน           
ง.   700 คน
87.   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 กำหนดให้รัฐบาลจะต้องจัดการศึกษาให้กับประชาชน โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายเป็นเวลากี่ปี
ก.   6  ปี
ข.   9  ปี
ค.   12  ปี
ง.   15  ปี
88.   ข้อใดคือการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินได้ถูกต้อง
ก.   ส่วนกลาง  ส่วนภูมิภาค  ส่วนจังหวัด
ข.   ส่วนกลาง  ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น
ค.   กระทรวง ทบวง  กรม
ง.   ส่วนกลาง   จังหวัด   อำเภอ
89.   การบริหารราชการแผ่นดินมีเป้าประสงค์สูงสุดคือข้อใด
ก.   ประโยชน์สุขของประชาชน
ข.   ผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพภารกิจรัฐ
ค.   ลดภารกิจ ลดขั้นตอนและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น
ง.   ประหยัดงบประมาณแผ่นดิน
90.   การจัดระเบียบราชการในกระทรวงใดๆ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ยกเว้นกระทรวงใด
       ก.   สำนักนายกรัฐมนตรี
ข.   กระทรวงกลาโหม
ค.   กระทรวงศึกษาธิการ
ง.   ข้อ ข และ ค ถูก
91. ข้อใดคือ “ ก.พ.ร.”
ก.   คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
ข.   คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการแห่งชาติ
ค.   คณะกรรมการพัฒนาระบบข้าราชการพลเรือน
ง.   คณะกรรมการพัฒนาระบบข้าราชการพลเรือนแห่งชาติ
92.   พิจารณาพักใช้ใบประกอบวิชาชีพครู
ก.   คุรุสภา
ข.   สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
ค.   คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ง.   สำนักงานเลขาธิการคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
93.   ประเภทของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ก.   ประเภทเดียว
ข.   2  ประเภท
ค.   3 ประเภท
       ง.    4 ประเภท
94. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งได้เป็นสามระดับ ยกเว้นข้อใด
ก.   ระดับก่อนประถมศึกษา
ข.   ระดับประถมศึกษา
ค.   ระดับมัธยมศึกษา
ง.   ระดับก่อนอุดมศึกษา
95. เด็กจะเข้าเรียนการศึกษาภาคบังคับในปีการศึกษา 2549 จะต้องเป็นเด็กที่เกิดในปี พ.ศ.ใด
ก.   2540      
ข.   2541
ค.   2542      
ง.   2543
96. เด็กจบการศึกษาภาคบังคับในสถานศึกษาสังกัด สพท. หมายถึงเด็กจบชั้นใด
ก.   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ข.   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 9
ค.   ชั้นปีที่ 9
ง.   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
97. คุณสมบัติทั่วไปของผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากำหนดไว้ในมาตราใดของ พรบ. ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547
ก.   มาตรา 29   
ข.   มาตรา 30   
ค.   มาตรา 31           
ง.   มาตรา 32

98. ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามี 3 ประเภท หมายถึงข้อใด
ก.   ตำแหน่งครู ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา และตำแหน่งผู้บริหารการศึกษา   
ข.   ตำแหน่งครู ตำแหน่งผู้บริหาร และตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษา
ค.   ตำแหน่งผู้สอน ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา และตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษา
ง.   ตำแหน่งผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษาและ ผู้บริหารการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาอื่น
99. หน่วยงานใดเป็นผู้ดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ก.   ก.ค.ศ.   
ข.   อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา   
ค.   สถานศึกษา   
        ง. ถูกทุกขอ
100. การบรรจุแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหน่งใดที่ต้องทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ เป็นเวลา 6 เดือน
ก.   ครู                  
ข.    ผู้ช่วยครู
   ค.    การโอนข้าราชการส่วนท้องถิ่นซึ่งเป็นผู้สอบแข่งขันหรือคัดเลือกได้
ง.    ถูกทุกข้อ

***********************

 
ประพันธ์ เวารัมย์ [183.88.52.xxx] เมื่อ 13/05/2015 15:04
ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
รูปประกอบความคิดเห็น :
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
อีเมล์ :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :